หมวด
การปรับร่างกาย
การหลับตา
การปรับใจ
การวางใจ
การนึกนิมิต
การใช้คำภาวนา
ความใจเย็น
การดู
การเห็น
ความหยุดนิ่ง
ฟุ้ง
เครียด-ตึง
ง่วง-หลับ
อยาก-ลุ้น
มืด
ติดลมหายใจ
นิมิตนอกตัว
นิมิตเลื่อนลอย
ขี้เกียจ-ท้อแท้
กลัว-กังวล
สงสัย
ความไม่ต่อเนื่อง
คำถามปกิณกะ

นิวรณ์ ๕ เป็นอย่างไร

    

หมวด คำถามปกิณกะ



   ๑) ความยินดี  พอใจในรูป  รส  กลิ่น  เสียง  สัมผัส  และธรรมารมณ์   ติดในทรัพย์สิน  คน  สัตว์ สิ่งของ  ให้พิจารณาแยกให้เป็นธาตุให้หมด  แล้วเราก็จะปล่อยวางได้
       ๒) ขัดใจ  ขุ่นเคือง  บางคนชอบไปวางตารางให้กับตนเอง  พอไม่ได้ก็ขุ่นใจ  ขุ่นใจคนอื่นก็มี
       ๓) ความโงกง่วง  ซึมเซา  เคลิบเคลิ้ม  หลับ    ต้องระวัง ถ้าขาดสติ  กุศลก็ไม่เกิด  ระวังเรื่องอาหาร  และอย่าคุ้นกับอารมณ์นั้น
       ๔) ฟุ้งซ่าน  รำคาญใจ  ถ้าฟุ้งดูว่าฟุ้งเรื่องอะไร  จะได้หาสาเหตุ  ให้วางใจเฉยๆ  หรือตามไปดู  พอดูมากๆ  ใจจะสงบ  
       ๕) ลังเลสงสัย  เห็นข้างในก็สงสัยว่า  ข้างนอกหรือข้างใน  หรือบางคนคิดหาวิธีการมากมาให้ปล่อยสบายๆ 
      



คำถามในหมวดเดียวกัน
     -  การปฏิบัติธรรมนั้น งานหยาบต้องฝึกได้ดี ธรรมะละเอียดจึงจะดีใช่หรือไม่ ?
     -  เทคนิคการฝึกสติ ๒ วิธี คืออะไร ?
     -  วิธีบันทึกผลการปฏิบัติธรรมเป็นอย่างไร และมีประโยชน์อย่างไร ?
     -  วิธีการเข้าถึงพระธรรมกายมีกี่วิธี ?
     -  อุปสรรคในการเข้าถึงธรรมมีอะไรบ้าง ?
     -  หนทางที่จะเข้าถึงปฐมมรรคมีกี่แบบ อะไรบ้าง ?
     -  นิวรณ์ ๕ เป็นอย่างไร ?
     -  นิวรณ์ ๕ เป็นอย่างไร ?
     -  การทำสมาธิ ๔๐ วิธีมีอะไรบ้าง ?
     -  การทำสมาธิเพื่อให้เข้าถึงธรรม มีกี่วิธี ?
     -  สมาธิแบ่งตามฐานที่ตั้งของใจมีกี่ชนิด ?
     -  นิวรณ์คืออะไร มีอุปมาอย่างไรบ้าง ?
     -  หัวใจของสมาธิคืออะไร ?
     -  เคยทราบมาว่าการเข้าถึงพระนิพพานมี ๔๐ วิธี แล้ววิชชาธรรมกายเข้าถึงได้ อยากทราบว่าอีก ๓๙ วิธีสามารถไปถึงนิพพานได้ไหม ?
     -  หมายความว่าทุกวิธี พอปฏิบัติได้ถึงจุดหนึ่งแล้ว จะกลายเป็นดวงใช่ไหม ?
     -  กายมนุษย์ละเอียดหรือกายอื่นๆ แตกต่างจากกายหยาบของเราอย่างไร ?
     -  หลวงปู่วัดปากน้ำสอนวิธีการทำใจให้หยุดนิ่งไว้ที่ศูนย์กลางกายฐานที่ ๗ จากเบื้องต้นจนถึงกายธรรม ไว้อย่างไรบ้าง ?

กลับหน้าสมาธิ
Bookmark and Share  
บันทึกผลการปฏิบัติธรรม