เห็นสมณะ
การเห็นสมณะของผู้มีจิตเลื่อมใสนั้น อาจแบ่งออกได้เป็น ๓ ระดับ คือ...
มงคลที่ ๒๙ เห็นสมณะ - เพียงพบเห็นก็เป็นมงคล
วันรุ่งขึ้น เขาได้จัดแจงตระเตรียมอาหารอย่างดี ไปหาพระเถระตั้งแต่เช้า และได้ยืนอยู่ในที่ท้ายสุดของหมู่ชน เขามองดูพระเถระแต่ไกล ยืนไหว้ท่านอยู่ตรงนั้น จากนั้นจึงเดินเข้าไปใกล้ท่านด้วยความปีติยินดี จับข้อเท้าของพระเถระไว้แน่น ไหว้ด้วยความนอบน้อมอีกครั้ง พร้อมกับกล่าวว่า “พระคุณเจ้าสูงมากนะขอรับ”
สามเณรนิโครธ (๓)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บรรพชิตผู้มีศีลทั้งหลาย เข้าไปหาสกุลใด มนุษย์ในสกุลนั้นย่อมประสบบุญเป็นอันมาก โดยฐานะ ๕ ประการ คือ สมัยใด บรรพชิตผู้มีศีลเข้าไปหาสกุล จิตของพวกมนุษย์ ย่อมเลื่อมใส สมัยนั้น สกุลนั้นชื่อว่าปฏิบัติปฏิปทาที่ยังสัตว์ ให้เป็นไปพร้อมเพื่อสวรรค์
เครื่องจองจำ
เครื่องจองจำใด เกืดแต่เหล็ก เกิดแต่ไม้และเกิดแต่หญ้าปล้อง ผู้มีปัญญาทั้งหลาย หากกล่าวเครื่องจองจำนั้นว่าเป็นของมั่งคงไม่
สื่อมวลชนเสนอข่าว ''ประธานมูลนิธิธรรมกาย ได้รับอาราธนานิมนต์เข้าร่วมงานฉลองครบรอบ 20 ปี แห่งการบูรณะวัดต้าฉือ เมืองเฉิงตู ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน"
''ประธานมูลนิธิธรรมกาย ได้รับอาราธนานิมนต์เข้าร่วมงานฉลองครบรอบ 20 ปี แห่งการบูรณะวัดต้าฉือ เมืองเฉิงตู ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน" โดยมีสื่อมวลชนหลายแห่งให้การเผยแพร่ข่าวสารนี้
มงคลที่ ๒๙ เห็นสมณะ - อานิสงส์การเห็นสมณะ
เมื่อลูกสาวเห็นว่า คุณพ่อมีศรัทธาเลื่อมใสในพระรัตนตรัย เธอจึงแนะนำให้พ่อแม่นิมนต์พระพุทธเจ้า พร้อมด้วยหมู่ภิกษุสงฆ์มาฉันภัตตาหารที่บ้าน คุณพ่อก็ทำตามแล้วได้ขอถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์เป็นสรณะ จากนั้นเธอก็ขออนุญาตออกบวช เนื่องจากสั่งสมบุญไว้มาก บวชได้ไม่นานนัก ได้บรรลุอรหัตตผลพร้อมด้วยปฏิสัมภิทาญาณ๔ เป็นพระอรหันตเถรี ผู้มีฤทธิ์มีเดชมีอานุภาพมาก
สามเณรนิโครธ (๑)
ผู้ใดเห็นภิกษุผู้ถึงพร้อมด้วยจรณะ ให้ท่านยืนอยู่เบื้องหน้า ประคองอัญชลีนมัสการแล้ว ผู้นั้นจะได้รับการสรรเสริญในปัจจุบัน เมื่อละโลกนี้ไปแล้ว ย่อมไปสู่สุคติสวรรค์
สามเณรนิโครธ (๒)
หากว่าบุคคลมีธรรมประดับแล้ว เป็นผู้สงบแล้ว ฝึกตนแล้ว เป็นคนเที่ยงตรง เป็นพรหมจารี เลิกอาชญากรรมในสัตว์ทั้งปวง พึงประพฤติธรรมสมํ่าเสมอ ผู้นั้นก็ชื่อว่าเป็นพราหมณ์ ผู้นั้นก็ชื่อว่า เป็นสมณะ ผู้นั้นก็ชื่อว่า เป็นภิกษุ
เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๙ )
โจรนำของไปอยู่ย่อมถูกห้าม แต่สมณะนำไปกลับเป็นที่รัก สมณะมาหาบ่อยๆ บัณฑิตย่อมยินดีต้อนรับ
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - ให้บ่อยๆ รวยบ่อยๆ
ยาจกยังต้องขอบ่อยๆ ถ้าไม่ขอก็อด คำว่ายาจกคือคนขอทาน จะแตกต่างจากคำว่า สมณะ ซึ่งเป็นการขอแบบอริยะ ที่เป็นเนื้อนาบุญแก่ผู้ให้ทาน บุคคลสองประเภทนี้มีข้อวัตรปฏิบัติที่แตกต่างกันราวฟ้ากับดิน คุณธรรมก็ต่างกันเหมือน ก้อนกรวดเทียบกับภูเขา พวกยาจกจะขอด้วยการแสดงอาการอัน น่าสงสาร