พิธีถวายพระบรมสารีริกธาตุและบรรจุรัตนชาติ
พระวิเทศธรรมาภรณ์ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย นำคณะศิษยานุศิษย์วัดพระธรรมกาย ถวายพระบรมสารีริกธาตุและบรรจุรัตนชาติเพื่อประดิษฐานเจดีย์ 3 แห่งในประเทศเวียดนาม
ขอถวายความอาลัยพระพุทธวรญาณ (ทอง สุวณฺณสาโร)
ขอถวายความอาลัยพระพุทธวรญาณ (ทอง สุวณฺณสาโร) พระเดชพระคุณท่านเจ้าคุณพระพุทธวรญาณ (ทอง สุวณฺณสาโร) อายุ 95 พรรษา 73 เจ้าอาวาสวัดเบญจมบพิตร และ ที่ปรึกษาเจ้าคณะเขตดุสิต มรณภาพ อย่างสงบที่โรงพยาบาลจุฬา เวลา 21.00 น. โดยประมาณ
ธรรมกาย กายแห่งการตรัสรู้ธรรม
ธรรมกาย คือ กายแห่งการตรัสรู้ธรรม คำว่า “ธรรมกาย” มีปรากฏหลักฐานทั้งในพระไตรปิฎก และคัมภีร์สำคัญๆ ในพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทของเราหลายแห่ง พุทธรัตนะ คือ ธรรมกาย ธรรมรัตนะ คือ ธรรมทั้งหลายที่กลั่นจากหัวใจธรรมกาย สังฆรัตนะ คือ ดวงจิตของธรรมกาย
ธรรมกาย ในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาทยุคต้น
“ธรรมกาย” เป็นคำที่คุ้นเคยกันดีในหมู่ชาวพุทธ แต่ความหมายของธรรมกายในใจของชาวพุทธแต่ละกลุ่มอาจไม่เหมือนกัน เมื่อความเข้าใจเรื่องธรรมกายในหมู่ชาวพุทธแตกต่างกันอย่างนี้ จึงน่าศึกษาว่า คำว่า “ธรรมกาย” ในคำสอนเก่าแก่ที่เก็บรักษาไว้โดยชาวพุทธในแต่ละท้องถิ่นนั้นเป็นอย่างไร....
พระพุทธวรญาณ (ทอง สุวณฺณสาโร)
ชาติภูมิ พระพุทธวรญาณ (ทอง สุวณฺณสาโร) มีนามเดิมว่า ทอง นาคประเสริฐ เป็นชาวจังหวัดฉะเชิงเทราโดยกำเนิด เกิด ณ ตำบลบางพระ อำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา เมื่อวันศุกร์ขึ้น 12 ค่ำ เดือนยี่ ปีมะแม ตรงกับวันที่ 2 มกราคม พ.ศ.2462
พิธีพระราชทานเพลิงศพ พระพุทธวรญาณ (ทอง สุวณฺณสาโร,ปธ.๖)
ขอเชิญร่วมพิธีพระราชทานเพลิงศพ พระพุทธวรญาณ (ทอง สุวณฺณสาโร,ปธ.๖) อดีตเจ้าอาวาสวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ณ เมรุวัดมกุฎกษัตริยาราม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ในวันอาทิตย์ที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 เวลา 17.00 น
วัดพระธรรมกายปฏิเสธการกล่าวอ้างในเฟซบุ๊กชื่อ "เรา รัก ธรรมกาย"
วัดพระธรรมกาย ขอชี้แจงว่า ข้อความดังกล่าวไม่ใช่ข้อความของวัดพระธรรมกาย แต่เป็นข้อความของผู้ใช้ชื่อในเฟซบุ๊ก เรา รัก ธรรมกาย ซึ่งไม่ใช่พระภิกษุ สามเณร ลูกศิษย์วัด หรือกัลยาณมิตรของวัดพระธรรมกายแต่อย่างใด
"สเตฟาน"นับถือ"ศาสนาพุทธ" รอจังหวะคิดบวช"พระ"
ความหมายของ ธรรม ในคำว่า ธรรมกาย
ธรรม ในคำว่าธรรมกาย ที่เป็นพระนามหนึ่งของพระตถาคตนั้นจึงควรหมายถึง โลกุตตรธรรม คือ มรรค ผลนิพพาน ที่เมื่อเข้าถึงแล้ว สามารถเปลี่ยนแปลงปุถุชนให้เป็นอริยบุคคล และเปลี่ยนอริยบุคคลชั้นต้นให้เป็นอริยบุคคลเบื้องสูงขึ้นไปได้นั่นเอง
ธรรมกายคืออะไร
คำถาม : ธรรมกาย คือ อะไร