การพิสูจน์ปรโลก ปรโลกมีจริงหรือไม่ ตอนที่ 2
พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาแห่งความรู้ เป็นศาสนาที่เกิดจากการตรัสรู้ธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ธรรมะที่พระองค์ตรัสรู้นั้นเป็นสัจธรรม ได้แก่ อริยสัจ 4 ซึ่งเป็นความจริงอย่างแท้จริง ดังนั้นพระพุทธศาสนาจึงเป็นศาสนาแห่งความจริง พระพุทธองค์ทรงประกาศสัจธรรมที่ตรัสรู้นั้นแก่ชาวโลก เพื่อให้ชาวโลกได้รู้ความจริง
มงคลที่ ๑๑ บำรุงบิดามารดา - พญาช้างโพธิสัตว์
ความมืดมิดที่ปกคลุมดวงจิตของคนอกตัญญู มืดยิ่งกว่ากลางคืนที่ไร้แสงจันทร์ เพราะ ยามราตรีแม้ไม่มีแสงจันทร์ ก็ยังมีแสงจากดวงดาว แสงหิ่งห้อย แต่ถ้าเป็นคนอกตัญญูจิตใจมืดบอดแล้ว แม้แสงสว่างแห่งความดีทั้งหลายก็ไม่อาจส่องเข้าไปในจิตใจเขาได้ เขาจะมองไม่เห็นคุณความดีของใครเลย เหมือนเรื่องของนายพรานใจบาป
ทุกข์ของคนพาลในปัจจุบัน
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย คนพาลนั้นแลย่อมเสวยทุกข์โทมนัส 3 อย่างในปัจจบัน
รักตนเอง
“คุณรักตนเองแค่ไหน” คำถามนี้ดูไม่น่าจะถามเลย เพราะไม่มีความรักใดในโลกหล้าจะมาเทียบได้กับความรักตน
นิรยภูมิสำหรับคนบาป
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหล่านายนิรยบาลจะโยนสัตว์นรกเข้าไปในมหานรก ก็มหานรกนั้นมีสี่มุม สี่ประตู แบ่งไว้โดยส่วนเท่ากัน มีกำแพงเหล็กล้อมรอบ ครอบไว้ด้วยแผ่นเหล็ก พื้นของนรกใหญ่นั้นสำเร็จด้วยเหล็กล้วนๆ ลุกโพลง แผ่ไปตลอดร้อยโยชน์รอบด้าน ประดิษฐานอยู่ทุกเมื่อ
จักษุของพระพุทธเจ้า
มนุษย์ทุกคนล้วนปรารถนาความสุข ความอบอุ่นใจ และความปลอดภัยในชีวิต จึงพยายามเสาะแสวงหาที่พึ่งที่ระลึกที่แท้จริง แต่หลายชีวิตก็ยังไม่รู้ว่า ที่พึ่งที่ระลึกที่แท้จริงนั้นคือสิ่งใด อยู่ที่ตรงไหน จะเข้าถึงได้ด้วยวิธีการใด จึงแสวงหากันวุ่นวาย และเต็มไปด้วยความทุกข์ทรมาน แต่ถ้าทุกคนในโลกได้รู้จักที่พึ่งที่ระลึก
พระทศพลญาณ
มนุษย์ส่วนใหญ่ต่างเสาะแสวงหาความรู้ต่างๆ เพียงเพื่อให้รู้วิธีการประกอบอาชีพ ที่จะนำมาซึ่งปัจจัยสี่สำหรับหล่อเลี้ยงร่างกาย ให้ดำรงอยู่ในโลกนี้อย่าง
สมเด็จพระสังฆราช ประทานพระคติธรรม เนื่องในวันอาสาฬหบูชา
สมเด็จพระสังฆราช ประทานพระคติธรรม เนื่องในวันอาสาฬหบูชา ปีพุทธศักราช 2562
เทพจุติ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เมื่อใด เทวดาเป็นผู้จะต้องจุติจากเทพนิกาย เมื่อนั้น นิมิต ๕ ประการ ย่อมปรากฏแก่เทวดานั้น คือ ดอกไม้ย่อมเหี่ยวแห้ง ๑ ผ้าย่อมเศร้าหมอง ๑ เหงื่อย่อมไหลออกจากรักแร้ ๑ ผิวพรรณเศร้าหมองย่อมปรากฏที่กาย ๑ เทวดาย่อมไม่ยินดีในทิพยอาสน์ของตน ๑
การแก้คำกล่าวหาแบบพุทธวิธี
ภิกษุใด ชนะหนามคือกาม ชนะการด่า การฆ่า และ การจองจำได้ ภิกษุนั้น เป็นผู้มั่นคงไม่หวั่นไหวดุจภูเขา ย่อมไม่หวั่นไหวในสุข และทุกข์