มรณภาพและละสังขาร: ความหมายและความแตกต่างในบริบททางพระพุทธศาสนา
บทความนี้กล่าวถึงความหมายและความแตกต่างของคำว่า 'มรณภาพ' และ 'ละสังขาร' ในบริบททางพระพุทธศาสนา เพื่อแสดงถึงความเคารพและเกียรติยศต่อผู้ล่วงลับ
ชัยชนะครั้งที่ 6 (ตอนที่ 1 ชนะสัจจกนิครนถ์)
พระจอมมุนีทรงรุ่งเรืองด้วยประทีปคือปัญญา ได้ทรงชนะสัจจกนิครนถ์ผู้เป็นคนมืดบอด มีอัธยาศัยไม่ยอมรับความจริง มีใจคิดแต่จะยกตนข่ม ด้วยเดชแห่งพุทธชัยมงคลนั้น ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ท่าน
ชัยชนะครั้งที่ 6 (ตอนที่ 2 ชนะสัจจกนิครนถ์)
บรรดาสิ่งที่งอกขึ้น ความรู้เป็นสิ่งที่ประเสริฐ บรรดาสิ่งที่ตกไป อวิชชาเป็นเลิศ บรรดาสัตว์ที่เดินด้วยเท้า พระสงฆ์เป็นผู้ประเสริฐสุด บรรดาชนผู้แถลงคารม พระพุทธเจ้าเป็นผู้ประเสริฐสุด
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๑ ชนะสัจจกนิครนถ์)
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเป็นบุคคลผู้เลิศทั้งพระปัญญาธิคุณ พระบริสุทธิคุณ และพระมหากรุณาธิคุณ จะหาบุคคลใดๆ ในภพทั้งสาม มาเสมอเหมือนหรือ
มงคลที่ ๘ มีศิลปะ - แก้ปัญญาหาด้วยปัญญาอันลึกซึ้ง (๓)
พระราชาจึงตรัสถามนายคามณิจันท์ว่า "แล้วความจริงมันเป็นอย่างไรล่ะ ท่านจงเล่ามาซิ" เขาได้เล่าเรื่องราว ทั้งหมดไปตามความเป็นจริง ตั้งแต่ที่ยืมโคไปแล้ว จนเอามาส่งคืน แต่ยังไม่ได้บอกเจ้าของเพราะเจ้าของโคกับภรรยากำลังทานข้าวอยู่ และเจ้าของก็เห็นแล้วว่า โคเข้าบ้านไปแล้ว แต่ตอนที่โคหายไปนั้น หายไปตอนกลางคืน ซึ่งไม่รู้ว่าใครขโมยไป ส่วนพระราชาจะตัดสินอย่างไรนั้น
มงคลที่ 38 - จิตเกษม - ปล่อยวางอย่างพระอริยะ
พระบรมศาสดาประทับยืนที่เหนือศีรษะของท่าน ตรัสให้เห็นทุกข์เห็นโทษของสังขารร่างกายนี้ว่า "กายของเธอนี้อยู่อีกไม่นาน เพราะจะปราศจากวิญญาณแล้ว หาอุปการะมิได้ อีกไม่นานต้องนอนบนแผ่นดิน เหมือนท่อนไม้ที่ไม่มีประโยชน์"
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๒ ชนะสัจจก-นิครนถ์)
คำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานแล้ว เป็นสิ่งที่มีค่าเอนกอนันต์ ทุกถ้อยคำที่พระพุทธองค์ทรงแนะนำสั่งสอน ชี้แนะหนทางสว่าง
ชัยชนะครั้งที่ ๔ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอน ชนะองคุลิมาล)
เวลาแห่งการปฏิบัติธรรม เป็นเวลาที่มีคุณค่ามหาศาล เพราะเราจะได้ทำใจหยุดใจนิ่ง แสวงหาอริยมรรค ซึ่งเป็นเส้นทางของพระอริยเจ้าทั้งหลาย เป็นทาง
รูปนันทาเถรี
สรีระอันกรรมทำให้เป็นนครแห่งกระดูกทั้งหลาย ฉาบด้วยเนื้อและโลหิต เป็นที่ตั้งลงแห่งชรา มรณะ มานะ และการลบหลู่คุณท่าน
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร (๒)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ทางสุดโต่งสองอย่างบรรพชิตไม่ควรเสพ คือ การทรมานตัวเองให้ลำบากและการประกอบพัวพันในกาม