คณะนาฏศิลป์โกมาลากูลเตรียมจัดแสดงไตรภูมิกถา
คณะนาฏศิลป์โกมาลากูล เตรียมนำพระราชนิพนธ์ในพระมหาธรรมราชาที่ 1 เรื่องไตรภูมิกถา มาจัดแสดงเพื่อปลุกจิตสำนึกการรู้รักสามัคคีคนในชาติ
วัดพุทธเจนีวา จัดปฏิบัติธรรมเมืองโซโลทูน
คณะกัลยาณมิตรวัดพุทธเจนีวา ได้ร่วมกันจัดปฏิบัติธรรม ประจำปี ณ เมืองโซโลทูน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ โดยจัดขึ้นที่บ้านของกัลยาณมิตรธาริณี รูฟ ศิริพรประสิทธิ์
พิธีบรรพชาสามเณรครั้งประวัติศาสตร์
ในที่สุดก็ถึงวันแห่งมหาปีติที่ทุกคนรอคอย วันอัศจรรย์ที่ชายต่างวัยแต่หัวใจเดียวกัน ทุกคนได้เข้าร่วมพิธีบรรพชาครั้งประวัติศาสตร์โลก ในโครงการอุปสมบทหมู่หนึ่งแสนรูป ทุกหมู่บ้านทั่วไทย ณ ลานธรรม มหาธรรมกายเจดีย์ วัดพระธรรมกาย พิธีกรรมเริ่มตั้งแต่ภาคเช้า เวลา 6.30น. นาคธรรมทายาทร่วมแสน เวียนประทักษิณรอบมหาธรรมกายเจดีย์ ด้วยความเป็นระบบระเบียบเรียบร้อยงดงาม
ยอมตายในสมรภูมิิ
การประสบอุบัติเหตุครั้งนี้ เหมือนจะหมดสิ้นทุกอย่าง เพราะต้องเสียค่ารักษาไปเป็นจำนวนมาก แต่ลูกและสามีก็ยังมาวัดอย่างต่อเนื่อง มาทั้งครอบครัวบ้าง สลับกันมาบ้างเพื่ออีกคนจะได้อยู่เฝ้าร้านค้า แม้จะต้องนั่งรถบัสนานถึง 12 ชั่วโมง
กโปตกชาดก-ชาดกว่าด้วยความเป็นผู้มีใจโลเล
อันพระพุทธวัจนทั้งหมดทั้งสิ้นที่ผ่านความยาวนานของกาลเวลามากกว่า 2500 ปีนั้น มีพระธรรมคำสอนเพียงไม่กี่ข้อที่ผู้คนในโลกจำกันขึ้นใจ บุคคลพึงสำเร็จได้ด้วยความเพียรก็เป็นพระพุทธธรรมข้อหนึ่งที่เราจดจำนำไปปฏิบัติกันอย่างกว้างขวาง การปฏิบัติกิจใดโดยความเพียรก็ย่อมมีข้อขันติอดทน ไม่มีใจโลเลเป็นสิ่งนำสู่ความสำเร็จ
ธัมมัทธชชาดก ชาดกว่าด้วยพูดอย่างหนึ่งทำอย่างหนึ่ง
มีภิกษุอยู่รูปหนึ่งเป็นผู้ที่ชอบพูดจาโป้ปดอยู่เสมอ คำพูดอย่างหนึ่งแต่การกระทำอีกอย่างหนึ่งจนเป็นที่ระอาใจในหมู่ภิกษุสงฆ์ด้วยกัน ภิกษุทั้งหลายได้พาภิกษุที่ชอบโกหกไปเข้าเฝ้าองค์พระศาสดาเพื่อให้พระองค์ได้ชี้แนะตักเตือน
สุวรรณกักกฏชาดก ชาดกว่าด้วยปูทองผู้ฉลาด
พระศาสดาเมื่อประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน ทรงปรารภการ เสียสละชีพของพระอานนทเถระเพื่อพระองค์ ดังนี้แล้วพระองค์จึงทรงนำเรื่องในอดีตมาสาทกดังต่อไปนี้...กาลครั้งหนึ่งนานพระโพธิ์สัตว์เกิดเป็นพราหมณ์ในหมู่บ้านแห่งหนึ่ง มีอาชีพกสิกรรม
วัฒนธรรมและประเพณี ของชาวไทย
วัฒนธรรมและประเพณี ศิลปกรรมไทยเป็นศิลปะที่มีความประณีตสวยงาม แสดงออกถึงความเป็นไทยที่มีความอ่อนโยน และสร้างสรรค์สืบต่อกันมาตั้งแต่อดีต จนได้ศิลปะประจำชาติที่มีลักษณะและรูปแบบเฉพาะ ส่วนใหญ่จะบอกเล่าเรื่องราว สิ่งแวดล้อมและความเป็นอยู่แบบไทยตั้งแต่ครั้งเก่าก่อน สะท้อนให้เห็นความเชื่อทางพระพุทธศาสนา สวยงามอ่อนช้อย และมีเรื่องราวกึ่งลึกกลับมหัศจรรย์
ทศชาติชาดก เรื่องเนมิราช ผู้ยิ่งด้วยอธิษฐานบารมี ตอนที่ 3
การทำอธิมุตกาลกิริยา (อะ-ธิ-มุต-ตะ-กา-ละ-กิ-ริ-ยา) คือการอธิษฐานจิตดับชีพของตนลงมาเกิดสร้างบารมีในโลกมนุษย์นี้ จะทำได้ก็เฉพาะพระโพธิสัตว์เจ้าทั้งหลายที่สถิตอยู่ในสวรรค์ชั้นดุสิตเท่า นั้น
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๔)
ในชั้นนี้โดยรวมแล้วเราพบหลักฐานธรรมกายในประเทศไทยทั้งหมด ๑๔ ชิ้น แบ่งเป็นศิลาจารึก ๖ หลัก จารึกลานเงิน ๑ ชิ้นคัมภีร์จารึกใบลานหนังสือพับสารวม ๖ คัมภีร์และในรูปแบบหนังสืออีก ๑ เล่ม