- ธรรมะสร้างกำลังใจ ทำให้คุณเป็นสุขใจได้ตลอดเวลา
- → ดูโปรไฟล์: โพสต์: ธาตุล้วนธรรมล้วน
ธาตุล้วนธรรมล้วน
เป็นสมาชิกตั้งแต่ 12 Apr 2010ออฟไลน์ ใช้งานล่าสุด Jun 10 2011 06:53 PM
สถิติเว็บบอร์ด
- กลุ่ม Members
- โพสต์ 255
- ดูโปรไฟล์ 22959
- อายุ 41 ปี
- วันเกิด กรกฎาคม 14, 1983
-
Gender
ไม่เปิดเผย
0
Neutral
เครื่องมือผู้ใช้งาน
ผู้เยี่ยมชมล่าสุด
โพสต์ที่ฉันโพสต์
ในกระทู้: จิตตภาวันวิทยาลัย กับ...อุโบสถกลางทะเลที่ยังรอศรัทธา
15 November 2010 - 09:54 PM
ท่านกิตติวุฑโฒ เป็นลูกหม้อวัดปากน้ำ ถึงแม้ท่านจะออกไปแนวพระอภิธรรมมาก แต่ท่านก็ช่วยเหลือกันในส่วนวิชชาธรรมกายมาโดยตลอดของชีวิตท่าน ขออนุโมทนาสาธุครับ
ในกระทู้: อะไรคือองค์ประกอบของการทำบุญที่ประกอบด้วยปัญญา
13 November 2010 - 11:25 PM
สาธุ สาธุ สาธุ
ในกระทู้: อะไรคือองค์ประกอบของการทำบุญที่ประกอบด้วยปัญญา
12 November 2010 - 02:08 AM
เพิ่มเติมในส่วน ทานคือ กำลังกาย สติปัญญา ความสามารถ กำลังทรัพย์
ให้ถูกกาล ถูกเนื้อนาบุญ ถูกเป้าหมาย
...........
เช่น
วัตถุทานบริสุทธิ์ ศีลของเราบริสุทธิ์ ผู้รับบริสุทธิ์
เจตนาบริสุทธิ์ จิตใจผ่องใส ทั้งก่อน ขณะ และหลังให้
พยายามทำตนให้ถึงพร้อมแก่การทำทาน และให้เหมาะสมแก่กาละเทศะ ไม่มีผู้ใดเดือดร้อน
หากตนเองเดือดร้อนแต่ใจผ่องใสมุ่งสู่ธรรม แบบนี้ได้ ใจเป็นใหญ่ แต่การที่ทำให้คนอื่นเข้าใจผิดจนตำหนิติเตียนเป็นวิบากกรรมก็พึงระวังทำให้รอบคอบ
หากทำแล้วคนอื่นเดือดร้อนก็พึงระวัง
ทำบุญกับสำนักที่มีการเผยแผ่พระพุทธศาสนาวิชชาธรรมกายเพื่อประโยชน์แก่สรรพสัตว์
ทำบุญกับพระสงฆ์ที่มีศีลธรรมดีเป็นเนื้อนาบุุญ
มีเป้าหมายเพื่อการสร้างบารมีไปสู่ที่สุดแห่งธรรมอย่างชัดเจน มิใช่เพื่อหวังผลตามกิเลศ หรือไม่ทำบุญแล้วนอนรอคอยปาฏิหาริย์แห่งบุญอย่างเดียว ทำบุญแล้วกิเลศต้องลดละ มิใช่เพิ่มพูนกิเลศ
สร้างบุญกิริยาวัตถุ 10 ให้ครบ บารมี 10 ให้ครบ เป็นต้น
ให้ถูกกาล ถูกเนื้อนาบุญ ถูกเป้าหมาย
...........
เช่น
วัตถุทานบริสุทธิ์ ศีลของเราบริสุทธิ์ ผู้รับบริสุทธิ์
เจตนาบริสุทธิ์ จิตใจผ่องใส ทั้งก่อน ขณะ และหลังให้
พยายามทำตนให้ถึงพร้อมแก่การทำทาน และให้เหมาะสมแก่กาละเทศะ ไม่มีผู้ใดเดือดร้อน
หากตนเองเดือดร้อนแต่ใจผ่องใสมุ่งสู่ธรรม แบบนี้ได้ ใจเป็นใหญ่ แต่การที่ทำให้คนอื่นเข้าใจผิดจนตำหนิติเตียนเป็นวิบากกรรมก็พึงระวังทำให้รอบคอบ
หากทำแล้วคนอื่นเดือดร้อนก็พึงระวัง
ทำบุญกับสำนักที่มีการเผยแผ่พระพุทธศาสนาวิชชาธรรมกายเพื่อประโยชน์แก่สรรพสัตว์
ทำบุญกับพระสงฆ์ที่มีศีลธรรมดีเป็นเนื้อนาบุุญ
มีเป้าหมายเพื่อการสร้างบารมีไปสู่ที่สุดแห่งธรรมอย่างชัดเจน มิใช่เพื่อหวังผลตามกิเลศ หรือไม่ทำบุญแล้วนอนรอคอยปาฏิหาริย์แห่งบุญอย่างเดียว ทำบุญแล้วกิเลศต้องลดละ มิใช่เพิ่มพูนกิเลศ
สร้างบุญกิริยาวัตถุ 10 ให้ครบ บารมี 10 ให้ครบ เป็นต้น
ในกระทู้: อะไรคือองค์ประกอบของการทำบุญที่ประกอบด้วยปัญญา
12 November 2010 - 01:56 AM
ปัญญาที่เหลือ บัณฑิตพึงทราบว่า ย่อมเกิดขึ้นแก่บุคคลผู้มีปัญญา
มากแม้ทั้งหมดซึ่งมีบารมีเต็มแล้ว.
อธิบายสุตมยปัญญา
ในคำว่า ปรโต สุตฺวา ปฏิลภติ นี้ บัณฑิตพึงทราบว่า ปัญญา
ทั้งหมดที่บุคคลได้แล้ว เพราะเห็นบ่อเกิดแห่งการงานเป็นต้นอันบุคคลอื่นกำลัง
ทำอยู่ หรือทำเสร็จแล้วก็ดี พึงถ้อยคำของใคร ๆ ผู้บอกอยู่ก็ดี เรียนเอาใน
สำนักของอาจารย์ก็ดี ชื่อว่า บุคคลฟังจากผู้อื่นแล้วนั่นแหละ.
อธิบายภาวนามยปัญญา
คำว่า สมาปนฺนสฺส (แปลว่า ผู้เข้าสมาบัติ) อธิบายว่า ปัญญา
ในภายในสมาบัติของบุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยสมาบัติ ชื่อว่า ภาวนามยปัญญา.
อธิบายทานมยปัญญา
คำว่า ทานํ อารพฺภ (แปลว่า ปรารภทาน) ได้แก่ อาศัยทาน
อธิบายว่า มีเจตนาในทานเป็นปัจจัย. คำว่า ทานาธิคจฺฉ (แปลว่า บุคคล
ผู้ให้ทาน) อธิบายว่า บุคคลผู้กำลังน้อมเข้าไปให้อยู่ซึ่งทาน ชื่อว่า ผู้ให้ทาน.
คำว่า ยา อุปฺปชฺชติ (แปลว่า ย่อมเกิดขึ้น) ได้แก่ ปัญญาใด อันสัมปยุต
ด้วยเจตนาในทาน ย่อมเกิดขึ้นอย่างนี้ ปัญญานี้ ชื่อว่า ทานมยปัญญา. ก็
เมื่อบุคคลคิดว่า เราจักให้ทานดังนี้ ก็ให้ทานอยู่ ครั้นให้ทานแล้ว ก็พิจารณา
อยู่ซึ่งทานนั้น.
ทานมยปัญญานั้น ย่อมเกิดขึ้นโดยอาการ ๓ อย่าง คือ
ปุพพเจตนา
มุญจนเจตนา
อปรเจตนา
หน้าที่ 652
--------------------------------------------------------------------------------
อธิบายสีลมยปัญญา
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงประสงค์เอาปัญญาอันสัมปยุตด้วยเจตนาในศีล
แม้ในคำว่า สีลํ อารพฺภ สีลาธิคจฺฉ นี้ว่า เป็น สีลมยปัญญา. ก็เมื่อคิดว่า
เราจักยังศีลให้บริบูรณ์ ดังนี้ แล้วก็ยังศีลนั้นให้บริบูรณ์อยู่ ครั้นยังศีลให้
บริบูรณ์แล้ว ก็พิจารณาศีลนั้นอยู่ สีลมยปัญญานี้จึงเกิดขึ้นโดยอาการ ๓ อย่าง
คือ ปุพพเจตนา มุญจนเจตนา อปรเจตนา. สำหรับภาวนามยปัญญา ข้าพเจ้า
กล่าวไว้แล้วในหนหลังนั่นแหละ.
อธิบาย อธิสีลปัญญา เป็นต้น
ใน อธิสีลปัญญา เป็นต้น บัณฑิตพึงทราบศีลเป็นต้น โดยเป็น
ไปอย่างละ ๒ คือ ศีล อธิศีล, จิต อธิจิต, ปัญญา อธิปัญญา. ในคำเหล่านั้น
ศีล ๕ ก็ดี ศีล ๑๐ ก็ดี ชื่อว่า ศีล ด้วยสามารถแห่งการสงเคราะห์ลงในแบบ
แผนนี้ว่า ความอุบัติขึ้นแห่งพระตถาคตทั้งหลาย หรือไม่ทรงอุบัติขึ้นก็ตามที
ธาตุ ธัมมฐิติ ธัมมนิยามเหล่านั้นก็ดำรงอยู่แล้วเทียว. จริงอยู่ เมื่อพระตถาคต
ทรงอุบัติขึ้นก็ดี ยังไม่ทรงอุบัติขึ้นก็ดี ศีลนั้นก็มีอยู่.
ถามว่า เมื่อพระตถาคตยังมิได้ทรงอุบัติขึ้น ใครเล่า ย่อมบัญญัติ
ศีล (คือย่อมประกาศให้รู้).
ตอบว่า ดาบส ปริพาชก สัพพัญญูโพธิสัตว์ และพระเจ้าจักร-
พรรดิราชย่อมบัญญัติศีล.
เมื่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงอุบัติขึ้นแล้ว ภิกษุสงฆ์ ภิกษุณี-
สงฆ์ อุบาสก และอุบาสิกา ย่อมประกาศให้รู้ซึ่งศีลนั้น. อนึ่ง
เมื่อพระตถาคตทรงอุบัติขึ้นแล้วนั้นแหละ ปาฏิโมกขสังวรศีลอัน
รวบรวมมาจากเวปพลังจิตดอทคอม
มากแม้ทั้งหมดซึ่งมีบารมีเต็มแล้ว.
อธิบายสุตมยปัญญา
ในคำว่า ปรโต สุตฺวา ปฏิลภติ นี้ บัณฑิตพึงทราบว่า ปัญญา
ทั้งหมดที่บุคคลได้แล้ว เพราะเห็นบ่อเกิดแห่งการงานเป็นต้นอันบุคคลอื่นกำลัง
ทำอยู่ หรือทำเสร็จแล้วก็ดี พึงถ้อยคำของใคร ๆ ผู้บอกอยู่ก็ดี เรียนเอาใน
สำนักของอาจารย์ก็ดี ชื่อว่า บุคคลฟังจากผู้อื่นแล้วนั่นแหละ.
อธิบายภาวนามยปัญญา
คำว่า สมาปนฺนสฺส (แปลว่า ผู้เข้าสมาบัติ) อธิบายว่า ปัญญา
ในภายในสมาบัติของบุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยสมาบัติ ชื่อว่า ภาวนามยปัญญา.
อธิบายทานมยปัญญา
คำว่า ทานํ อารพฺภ (แปลว่า ปรารภทาน) ได้แก่ อาศัยทาน
อธิบายว่า มีเจตนาในทานเป็นปัจจัย. คำว่า ทานาธิคจฺฉ (แปลว่า บุคคล
ผู้ให้ทาน) อธิบายว่า บุคคลผู้กำลังน้อมเข้าไปให้อยู่ซึ่งทาน ชื่อว่า ผู้ให้ทาน.
คำว่า ยา อุปฺปชฺชติ (แปลว่า ย่อมเกิดขึ้น) ได้แก่ ปัญญาใด อันสัมปยุต
ด้วยเจตนาในทาน ย่อมเกิดขึ้นอย่างนี้ ปัญญานี้ ชื่อว่า ทานมยปัญญา. ก็
เมื่อบุคคลคิดว่า เราจักให้ทานดังนี้ ก็ให้ทานอยู่ ครั้นให้ทานแล้ว ก็พิจารณา
อยู่ซึ่งทานนั้น.
ทานมยปัญญานั้น ย่อมเกิดขึ้นโดยอาการ ๓ อย่าง คือ
ปุพพเจตนา
มุญจนเจตนา
อปรเจตนา
หน้าที่ 652
--------------------------------------------------------------------------------
อธิบายสีลมยปัญญา
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงประสงค์เอาปัญญาอันสัมปยุตด้วยเจตนาในศีล
แม้ในคำว่า สีลํ อารพฺภ สีลาธิคจฺฉ นี้ว่า เป็น สีลมยปัญญา. ก็เมื่อคิดว่า
เราจักยังศีลให้บริบูรณ์ ดังนี้ แล้วก็ยังศีลนั้นให้บริบูรณ์อยู่ ครั้นยังศีลให้
บริบูรณ์แล้ว ก็พิจารณาศีลนั้นอยู่ สีลมยปัญญานี้จึงเกิดขึ้นโดยอาการ ๓ อย่าง
คือ ปุพพเจตนา มุญจนเจตนา อปรเจตนา. สำหรับภาวนามยปัญญา ข้าพเจ้า
กล่าวไว้แล้วในหนหลังนั่นแหละ.
อธิบาย อธิสีลปัญญา เป็นต้น
ใน อธิสีลปัญญา เป็นต้น บัณฑิตพึงทราบศีลเป็นต้น โดยเป็น
ไปอย่างละ ๒ คือ ศีล อธิศีล, จิต อธิจิต, ปัญญา อธิปัญญา. ในคำเหล่านั้น
ศีล ๕ ก็ดี ศีล ๑๐ ก็ดี ชื่อว่า ศีล ด้วยสามารถแห่งการสงเคราะห์ลงในแบบ
แผนนี้ว่า ความอุบัติขึ้นแห่งพระตถาคตทั้งหลาย หรือไม่ทรงอุบัติขึ้นก็ตามที
ธาตุ ธัมมฐิติ ธัมมนิยามเหล่านั้นก็ดำรงอยู่แล้วเทียว. จริงอยู่ เมื่อพระตถาคต
ทรงอุบัติขึ้นก็ดี ยังไม่ทรงอุบัติขึ้นก็ดี ศีลนั้นก็มีอยู่.
ถามว่า เมื่อพระตถาคตยังมิได้ทรงอุบัติขึ้น ใครเล่า ย่อมบัญญัติ
ศีล (คือย่อมประกาศให้รู้).
ตอบว่า ดาบส ปริพาชก สัพพัญญูโพธิสัตว์ และพระเจ้าจักร-
พรรดิราชย่อมบัญญัติศีล.
เมื่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงอุบัติขึ้นแล้ว ภิกษุสงฆ์ ภิกษุณี-
สงฆ์ อุบาสก และอุบาสิกา ย่อมประกาศให้รู้ซึ่งศีลนั้น. อนึ่ง
เมื่อพระตถาคตทรงอุบัติขึ้นแล้วนั้นแหละ ปาฏิโมกขสังวรศีลอัน
รวบรวมมาจากเวปพลังจิตดอทคอม
ในกระทู้: จำเป็นไหมต้องทำบุญเยอะถึงจะรวย
11 November 2010 - 10:28 PM
สาธุครับ
เมื่อเหตุปัจจัยถึงพร้อม ก็อำนวยผลตามเหตุปัจจัย และสมบัตินั้นก็ไม่ควรนำมาเสวยตามใจกิเลศ แต่ให้นำมาต่อบุญเพื่อการสร้างบารมีโดยเฉพาะเป็นกองเสบียงให้ภาคปราบ
หากท่านใดอยากจะสร้างทานบารมีแบบพระโพธิสัตว์เจ้า หรือพระอริยเจ้า ที่เป็นต้นบุญต้นแบบมา ก็เป็นสิ่งดี แต่ควรใช้ปัญญาและดูบริบทด้วยนะครับ
ผู้นำบุญ ผู้บอกบุญ ก็ควรบอกด้วยความระวัง มิฉะนั้นจะเกิดการเข้าใจผิดว่าวัดเราต้องทำบุญจนหมดตัวเท่านั้น
...............................................
ผมเองก็อยากจะทำทานขั้นปรมัตถ์ แบบว่าสละชีวิตเลย แต่ตอนนี้ยังไม่ถึงกาละเทศะที่สมควรครับ อิอิ ส่วนทานบารมีก็ตั้งใจทำให้ดีที่สุดครับ
...............................................
คำว่า ทำบุญ มีตั้งแต่ บุญกิริยาวัตถุ 10 และเข้มข้นไปจนถึงบารมีทั้ง 10 แต่สิ่งที่อำนวยผลเป็นสมบัติจะเกี่ยวกับเรื่อง ทาน ครับ
...............................................
อีกสิ่งที่สำคัญ หากเราสร้างปัญญาบารมีมากๆ รู้จักใช้ปัญญาในการทำมาหากิน ก็รวยได้ครับ เป็นมหาเศรษฐีรวยโคตรได้เหมือนกัน บวกกับทานบารมีด้วย ช่วยๆกันหนุนครับ
สำคัญคือ ต้องเข้าใจว่า สิ่งที่ทำไปนั้นเป็นการสร้างบุญบารมี แล้วเราก็จะได้บุญบารมีมาอำนวยผลตามเหตุปัจจัยครับ
เมื่อเหตุปัจจัยถึงพร้อม ก็อำนวยผลตามเหตุปัจจัย และสมบัตินั้นก็ไม่ควรนำมาเสวยตามใจกิเลศ แต่ให้นำมาต่อบุญเพื่อการสร้างบารมีโดยเฉพาะเป็นกองเสบียงให้ภาคปราบ
หากท่านใดอยากจะสร้างทานบารมีแบบพระโพธิสัตว์เจ้า หรือพระอริยเจ้า ที่เป็นต้นบุญต้นแบบมา ก็เป็นสิ่งดี แต่ควรใช้ปัญญาและดูบริบทด้วยนะครับ
ผู้นำบุญ ผู้บอกบุญ ก็ควรบอกด้วยความระวัง มิฉะนั้นจะเกิดการเข้าใจผิดว่าวัดเราต้องทำบุญจนหมดตัวเท่านั้น
...............................................
ผมเองก็อยากจะทำทานขั้นปรมัตถ์ แบบว่าสละชีวิตเลย แต่ตอนนี้ยังไม่ถึงกาละเทศะที่สมควรครับ อิอิ ส่วนทานบารมีก็ตั้งใจทำให้ดีที่สุดครับ
...............................................
คำว่า ทำบุญ มีตั้งแต่ บุญกิริยาวัตถุ 10 และเข้มข้นไปจนถึงบารมีทั้ง 10 แต่สิ่งที่อำนวยผลเป็นสมบัติจะเกี่ยวกับเรื่อง ทาน ครับ
...............................................
อีกสิ่งที่สำคัญ หากเราสร้างปัญญาบารมีมากๆ รู้จักใช้ปัญญาในการทำมาหากิน ก็รวยได้ครับ เป็นมหาเศรษฐีรวยโคตรได้เหมือนกัน บวกกับทานบารมีด้วย ช่วยๆกันหนุนครับ
สำคัญคือ ต้องเข้าใจว่า สิ่งที่ทำไปนั้นเป็นการสร้างบุญบารมี แล้วเราก็จะได้บุญบารมีมาอำนวยผลตามเหตุปัจจัยครับ
- ธรรมะสร้างกำลังใจ ทำให้คุณเป็นสุขใจได้ตลอดเวลา
- → ดูโปรไฟล์: โพสต์: ธาตุล้วนธรรมล้วน
- Privacy Policy
- เงื่อนไข ข้อตกลง และกฏระเบียบของเว็บไซต์ DMC ·