กิเลสที่เกี่ยวกับโทสะและปฏิฆะเป็นอย่างไร?
เริ่มโดย พิมพ์บุญ, Oct 25 2006 11:19 AM
มี 10 โพสต์ตอบกลับกระทู้นี้
#1
โพสต์เมื่อ 25 October 2006 - 11:19 AM
กิเลสที่เกี่ยวกับโทสะและปฏิฆะเป็นอย่างไร? (ไม่ค่อยเข้าใจ)
¤นักเรียนใหม่***
รักบุญ เชื่อในบุญ
mata072 windowslive.com
รักบุญ เชื่อในบุญ
mata072 windowslive.com
#2
โพสต์เมื่อ 25 October 2006 - 12:30 PM
พยาปาทะ/พยาบาท => โทสะ => โกธะ => ปฏิฆะ
อธิบายว่า พยาปาทะ/พยาบาทและโทสะนั้น เป็นกิเลสในตระกูลโทสะระดับหยาบ (วีตกกัมมกิเลส) โกธะ เป็นกิเลสในตระกูลโทสะระดับกลาง (ปริยุฏฐานกิเลส) ส่วนปฏิฆะนั้น เป็นกิเลสในตระกูลโทสะขั้นสุขุมะ อันเป็นกิเลสที่นอนเนื่องอยู่ในขันธสันดาน (อนุสัยกิเลส) ครับ
"ปญฺญา นรานํ รตนํ ปัญญาเป็นรัตนะของนรชน"
พระพุทธภาษิต
ตถาคตรู้วาจาใด ไม่จริง ไม่แท้ ไม่ประกอบไปด้วยประโยชน์
ทั้งวาจานั้นไม่เป็นที่รัก ไม่เป็นที่เจริญใจของคนอื่นๆ ตถาคตไม่ตรัสวาจานั้น
ตถาคตรู้วาจาใด เป็นของจริง ของแท้ แต่ไม่ประกอบด้วยประโยชน์
ทั้งวาจานั้นไม่เป็นที่รัก ไม่เป็นที่เจริญใจของคนอื่นๆ แม้วาจานั้นตถาคตก็ไม่ตรัส
อนึ่ง ตถาคตรู้วาจาใด เป็นของจริง เป็นของแท้ ประกอบด้วยประโยชน์
แต่วาจานั้นไม่เป็นที่รัก ไม่เป็นที่เจริญใจของคนอื่นๆ ตถาคตย่อมรู้กาลอันควรที่จะใช้วาจานั้น
ตถาคตรู้วาจาใด ไม่จริง ไม่แท้ ไม่ประกอบไปด้วยประโยชน์
แต่วาจานั้นเป็นที่รัก เป็นที่เจริญใจของคนอื่นๆ ตถาคตไม่ตรัสวาจานั้น
ตถาคตรู้วาจาใด แม้เป็นของจริง เป็นของแท้ และไม่ประกอบด้วยประโยชน์
แต่วาจานั้นเป็นที่รัก เป็นที่เจริญใจของคนอื่นๆ แม้วาจานั้นตถาคตก็ไม่ตรัส
อนึ่ง ตถาคตรู้วาจาใด เป็นของจริง เป็นของแท้ ประกอบด้วยประโยชน์
ทั้งวาจานั้นเป็นที่รัก เป็นที่เจริญใจของคนอื่นๆ ตถาคตย่อมรู้กาลอันควรที่จะใช้วาจานั้น
ทั้งวาจานั้นไม่เป็นที่รัก ไม่เป็นที่เจริญใจของคนอื่นๆ ตถาคตไม่ตรัสวาจานั้น
ตถาคตรู้วาจาใด เป็นของจริง ของแท้ แต่ไม่ประกอบด้วยประโยชน์
ทั้งวาจานั้นไม่เป็นที่รัก ไม่เป็นที่เจริญใจของคนอื่นๆ แม้วาจานั้นตถาคตก็ไม่ตรัส
อนึ่ง ตถาคตรู้วาจาใด เป็นของจริง เป็นของแท้ ประกอบด้วยประโยชน์
แต่วาจานั้นไม่เป็นที่รัก ไม่เป็นที่เจริญใจของคนอื่นๆ ตถาคตย่อมรู้กาลอันควรที่จะใช้วาจานั้น
ตถาคตรู้วาจาใด ไม่จริง ไม่แท้ ไม่ประกอบไปด้วยประโยชน์
แต่วาจานั้นเป็นที่รัก เป็นที่เจริญใจของคนอื่นๆ ตถาคตไม่ตรัสวาจานั้น
ตถาคตรู้วาจาใด แม้เป็นของจริง เป็นของแท้ และไม่ประกอบด้วยประโยชน์
แต่วาจานั้นเป็นที่รัก เป็นที่เจริญใจของคนอื่นๆ แม้วาจานั้นตถาคตก็ไม่ตรัส
อนึ่ง ตถาคตรู้วาจาใด เป็นของจริง เป็นของแท้ ประกอบด้วยประโยชน์
ทั้งวาจานั้นเป็นที่รัก เป็นที่เจริญใจของคนอื่นๆ ตถาคตย่อมรู้กาลอันควรที่จะใช้วาจานั้น
พระอมตะวจนา แห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
[/color]
"...พระพุทธศาสนา บริบูรณ์ด้วยสัจธรรมที่เป็นสาระ และเป็นประโยชน์ในทุกระดับ
แต่จะต้องศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจ และปฏิบัติให้เหมาะสมแก่ภาวะปัจจุบัน
ด้วยศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง จึงจะเกิดเป็นประโยชน์ขึ้นได้..."
"รู้ใดก็ไม่ประเสริฐ เท่ารู้แจ้งด้วยปัญญาธรรมอันเกิดมีในตน"
"อัศวินปฏิญาณตนเป็นคนกล้า
ดวงใจเปี่ยมคุณธรรม
ซื่อตรงยึดมั่นในวาจาสัตย์
อุทิศชีวิตพิชิตมาร"
แต่จะต้องศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจ และปฏิบัติให้เหมาะสมแก่ภาวะปัจจุบัน
ด้วยศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง จึงจะเกิดเป็นประโยชน์ขึ้นได้..."
พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
๑๗ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๑๒
"รู้ใดก็ไม่ประเสริฐ เท่ารู้แจ้งด้วยปัญญาธรรมอันเกิดมีในตน"
"อัศวินปฏิญาณตนเป็นคนกล้า
ดวงใจเปี่ยมคุณธรรม
ซื่อตรงยึดมั่นในวาจาสัตย์
อุทิศชีวิตพิชิตมาร"
[color="#990000"]ไชยานุภาพ ปราบหงสาวดี
#3
โพสต์เมื่อ 25 October 2006 - 01:11 PM
และมีวิธีแก้ กิเลิสตัวนี้ให้ค่อยๆๆ หลุดออกจากขันธสันดาล (คืออยู่ในตัวอยู่ภายใต้จิตสำนึก หรือเปล่า) (ปฏิคะ)
¤นักเรียนใหม่***
รักบุญ เชื่อในบุญ
mata072 windowslive.com
รักบุญ เชื่อในบุญ
mata072 windowslive.com
#4
โพสต์เมื่อ 25 October 2006 - 05:15 PM
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์ ปี 2538
ปฏิฆะ คือ ความขัด, แค้นเคือง, ความขึ้งเคียด, ความกระทบกระทั่งแห่งจิต ได้แก่ความที่จิตหงุดหงิดด้วยอำนาจโทสะ
โทสะ คือ ความคิดประทุษร้าย (ข้อ ๒ ในอกุศลมูล ๓)
อกุศลมูล คือ รากเหง้าของอกุศล, ต้นเหตุของอกุศล, ต้นเหตุของความชั่วมี ๓ อย่าง คือ โลภะ โทสะ โมหะ
สรุปให้เข้าใจง่ายๆ ว่า เมื่อมีสิ่งเร้า เช่น มีใครมาว่าเรา อำนาจกิเลสสายโทสะ (อกุศลมูลข้อ 2) จะบังคับจิตของเรา ให้เกิด ปฏิฆะ หรือ ความขัดใจขึ้นมาก่อน ถ้าเราขัดใจ แล้วระงับไว้ได้ อำนาจของกิเลสสายนี้ก็ยังไม่ส่งผลรุนแรง แต่ถ้าจากขัดใจแล้ว เขาก็ยังด่าเราไม่หยุด จากขัดใจ อาจทวีพลังขึ้นจนกลายเป็น โทสะ หรือ ความโกรธ คิดประทุษร้าย เป็นต้น
ปฏิฆะ คือ ความขัด, แค้นเคือง, ความขึ้งเคียด, ความกระทบกระทั่งแห่งจิต ได้แก่ความที่จิตหงุดหงิดด้วยอำนาจโทสะ
โทสะ คือ ความคิดประทุษร้าย (ข้อ ๒ ในอกุศลมูล ๓)
อกุศลมูล คือ รากเหง้าของอกุศล, ต้นเหตุของอกุศล, ต้นเหตุของความชั่วมี ๓ อย่าง คือ โลภะ โทสะ โมหะ
สรุปให้เข้าใจง่ายๆ ว่า เมื่อมีสิ่งเร้า เช่น มีใครมาว่าเรา อำนาจกิเลสสายโทสะ (อกุศลมูลข้อ 2) จะบังคับจิตของเรา ให้เกิด ปฏิฆะ หรือ ความขัดใจขึ้นมาก่อน ถ้าเราขัดใจ แล้วระงับไว้ได้ อำนาจของกิเลสสายนี้ก็ยังไม่ส่งผลรุนแรง แต่ถ้าจากขัดใจแล้ว เขาก็ยังด่าเราไม่หยุด จากขัดใจ อาจทวีพลังขึ้นจนกลายเป็น โทสะ หรือ ความโกรธ คิดประทุษร้าย เป็นต้น
ได้ดี เพราะมีกัลยาณมิตร
#5
โพสต์เมื่อ 25 October 2006 - 06:22 PM
สำหรับนักปฏิบัติธรรมแล้วโทสะ(คิดประทุษร้าย)คงไม่มี แต่ปฏิฆะนี้ยากที่จะฝึกให้ไม่เกิดขึ้นได้ ยิ่งอยู่ในสภาพแวดล้อมผู้ที่ไม่ค่อยมีศีลด้วยแล้ว บางครั้งก็ลำบากเหมือนกัน พยายามแผ่เมตตาอยู่ ไม่รู้จะช่วยได้หรือเปล่าครับ
"หยุด เป็น ตัวสำเร็จ"
สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ทวารัตตะเยนะ กะตัง
สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต้ อุกาสะ ขะมามิ ภันเตฯ
หากข้าพระพุทธเจ้า ได้เคยประมาทพลาดพลั้งล่วงเกินต่อพระรัตนตรัย อันมีพระพุทธเจ้าทุกๆ พระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ พระธรรม และพระอริยสงฆ์ทั้งหลาย ในชาติก่อนก็ดี ชาตินี้ก็ดี ด้วยกายก็ดี วาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี ด้วยเจตนาก็ดี ไม่เจตนาก็ดี ด้วยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ก็ดี
ขอองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกๆ พระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทุกๆ พระองค์ พระธรรม พระอริยสงฆ์ทั้งหลาย และผู้มีพระคุณทุกท่าน ได้โปรดยกโทษให้แก่ข้าพระพุทธเจ้า ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ตราบเท่าเข้าสู่พระนิพพานด้วยเทอญ
สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ทวารัตตะเยนะ กะตัง
สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต้ อุกาสะ ขะมามิ ภันเตฯ
หากข้าพระพุทธเจ้า ได้เคยประมาทพลาดพลั้งล่วงเกินต่อพระรัตนตรัย อันมีพระพุทธเจ้าทุกๆ พระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ พระธรรม และพระอริยสงฆ์ทั้งหลาย ในชาติก่อนก็ดี ชาตินี้ก็ดี ด้วยกายก็ดี วาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี ด้วยเจตนาก็ดี ไม่เจตนาก็ดี ด้วยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ก็ดี
ขอองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกๆ พระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทุกๆ พระองค์ พระธรรม พระอริยสงฆ์ทั้งหลาย และผู้มีพระคุณทุกท่าน ได้โปรดยกโทษให้แก่ข้าพระพุทธเจ้า ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ตราบเท่าเข้าสู่พระนิพพานด้วยเทอญ
#6
โพสต์เมื่อ 25 October 2006 - 07:03 PM
คนที่ถอนปฏิฆะได้ อย่างต่ำต้องเป็นพระอนาคามีขึ้นไปครับ
อย่างพวกเราอย่างดีก็ได้ถึงระดับจัดการกับ ปริยุฏฐานกิเลส (ต้องหยุดนิ่งเท่านั้น)
อย่างพวกเราอย่างดีก็ได้ถึงระดับจัดการกับ ปริยุฏฐานกิเลส (ต้องหยุดนิ่งเท่านั้น)
#7
โพสต์เมื่อ 25 October 2006 - 07:57 PM
เก่งกันทุกคนเลยล่ะเนี้ย
กายธรรมควรเทิดไว้ ในใจ
เป็นสรณะภายใน เทียงแท้
กว่านี้ บ่ มีใด เทียบได้
น้อบนบท่านไว้แล ค่ำเช้าสุขเสมอ
เอาบุญมาฝากจ้า นั่งสมาธิเยี่ยมไปเลย แถมไปติดจานมาอีกด้วย เด็กชาวเขานี้น่ารักนะแม้คุยไม่รู้เรื่องก็ตามล่ะ สนุกดี
เป็นสรณะภายใน เทียงแท้
กว่านี้ บ่ มีใด เทียบได้
น้อบนบท่านไว้แล ค่ำเช้าสุขเสมอ
เอาบุญมาฝากจ้า นั่งสมาธิเยี่ยมไปเลย แถมไปติดจานมาอีกด้วย เด็กชาวเขานี้น่ารักนะแม้คุยไม่รู้เรื่องก็ตามล่ะ สนุกดี
#8
โพสต์เมื่อ 26 October 2006 - 05:23 PM
ปฏิฆะ ก็คือ น้องนุชของโทสะ นั่นเองค่ะ
ปฏิฆะ คือความไม่พอใจเล็กๆน้อยๆ หงุดหงิดใจเล็กๆน้อยๆ เจริญเมตตามากๆ ก็จะเป็นคู่ปรับกันกับปฏิฆะค่ะ
ปฏิฆะ คือความไม่พอใจเล็กๆน้อยๆ หงุดหงิดใจเล็กๆน้อยๆ เจริญเมตตามากๆ ก็จะเป็นคู่ปรับกันกับปฏิฆะค่ะ
#9
โพสต์เมื่อ 26 October 2006 - 07:58 PM
วิวัฒนาการของโทสะ
พยาบาท
...การผูกใจที่จะแก้แค้น...
^
โทสะ
...คิดประทุษร้าย...
^
โกรธ
...ความเดือดดาลแห่งจิต...
^
ปฏิฆะ
...ขัดใจ...
^
อรติ
...ความไม่ชอบ ไม่พอใจ...
พยาบาท
...การผูกใจที่จะแก้แค้น...
^
โทสะ
...คิดประทุษร้าย...
^
โกรธ
...ความเดือดดาลแห่งจิต...
^
ปฏิฆะ
...ขัดใจ...
^
อรติ
...ความไม่ชอบ ไม่พอใจ...
Ref: พุทธศาสตร์เล่ม 2 (พอ.ปิ่น มุทุกันต์)
#10
โพสต์เมื่อ 24 June 2007 - 07:32 PM
อนุโมทนากับเจ้าของกระทู้และผู้ตอบกระทู้ทุกท่านครับ สาธุๆๆ
#11
โพสต์เมื่อ 17 October 2007 - 11:57 AM
อนุโมทนาบุญครับ สาธุ