ยถา วาริวหา ปูรา ปริ ปูเรนฺติ สาครํ
เอวเมว อิโต ทินฺนํ เปตานํ อุปกปฺปติ
อิจฺฉิตํ ปตฺกิตํ ตุยฺหํ ขิปฺปเมว สมิชฺฌตุ
สพฺเพ ปุเรนฺตุ สงฺกปฺปา จนฺโท ปณฺณรโส ยถา
มณิ โชติรโส ยถา
เรียนถามว่าตรงสีแดงน่าจะเป็น ตุมหัง หรือ ตุยหัง
แปลแตกต่างกันอย่างไรครับ
กราบเรียนถามพระอาจารย์ผู้รู้ภาษาบาลี
เริ่มโดย usr25000, Jan 06 2009 07:54 AM
มี 5 โพสต์ตอบกลับกระทู้นี้
#1
โพสต์เมื่อ 06 January 2009 - 07:54 AM
#2
โพสต์เมื่อ 07 January 2009 - 05:08 PM
กราบเรียนถาม พระอาจารย์บาลีมาให้นะคะ
ท่านสอนว่า..
...เป็น ตุมหัง หรือ ตุยหัง ก็ได้ค่ะ
ตัวอักษร ต่างกัน แต่แปลเหมือนกัน เพราะ อยู่ใน วิภัติเดียวกัน คือหมวดเดียวกัน
ใช้อักษรต่างกัน เพื่อประโยชน์ ในการแต่งฉันท์
ให้ลง เสียงหนัก เบา (ครุ / ลหุ) ให้เหมาะสมค่ะ
#3
โพสต์เมื่อ 08 January 2009 - 12:45 AM
สาธุ ครับ
#4
โพสต์เมื่อ 08 January 2009 - 03:04 AM
ขอบคุณมาก ๆ ครับ สาธุ สาธุ สาธุ
ภาษาบาลี นี้เพราะจริง ๆ ครับ
ภาษาบาลี นี้เพราะจริง ๆ ครับ
#5
โพสต์เมื่อ 09 January 2009 - 12:05 AM
อืม..
ความรู้ใหม่ครับ
น่าเรียนจังภาษาบาลี
เอ้.. แล้ววิภัติ หมวดเดียวกัน
มันคืออะไรครับ คล้ายๆกันกับสุตรคูณหรือเปล่าครับ
ความรู้ใหม่ครับ
น่าเรียนจังภาษาบาลี
เอ้.. แล้ววิภัติ หมวดเดียวกัน
มันคืออะไรครับ คล้ายๆกันกับสุตรคูณหรือเปล่าครับ
นำมอ ตี่ จ่าง อ้วง ผู่ สัก
#6
โพสต์เมื่อ 09 January 2009 - 02:49 PM
วิภัติ คือ การจำแนก ศัพท์ หนึ่งตัว ออกเป็น หลายๆตัว
เพื่อนำไปใช้เพื่อประโยชน์ ในการ ขยายประโยค บาลี
เช่น ขยาย ประธาน หรือ ขยายกริยา จ้ะ