ภาพงานบุญกฐินธรรมชัย

กฐินวัดพระธรรมกาย

ประมวลภาพงานบุญกฐินธรรมชัย สร้างทุกสิ่ง
 
     การทอดกฐินเป็นประเพณีอันดีงามของชาวพุทธที่ศาสนิกชนประพฤติปฏิบัติสืบต่อ กันมาเป็นเวลายาวนานกว่า 2,500 ปี กำเนิดขึ้นเมื่อครั้งที่พระภิกษุชาวเมืองปาไฐยรัฐออกเดินทางไกล เพื่อไปเฝ้าพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ณ วัดพระเชตวัน พระภิกษุเหล่านั้นมีจีวรที่เปรอะเปื้อนเปียกชุ่มและเปื่อยขาดด้วยความเก่า พระบรมศาสดาจึงทรงมีพุทธานุญาตให้ภิกษุผู้อยู่จำพรรษารับผ้ากฐินได้หลังออก พรรษา เพื่อนำมาผลัดเปลี่ยนผ้าเก่า ประเพณีทอดกฐินได้เกิดขึ้นตั้งแต่ครั้งนั้นและสืบทอดมาจนกระทั่งปัจจุบัน
 
พิธีกรรมภาคเช้างานกฐินธรรมชัย
 
 
พิธีกรรมภาคเช้า นั่งสมาธิกลั่นใจใสๆ รองรับบุญที่จะเกิดขึ้น
 
พิธีทอดกฐินประจำปี 2554 
 
ประเพณีทอดกฐิน บุญใหญ่แห่งปี
 
การทอดกฐินเป็นประเพณีอันดีงามของชาวพุทธที่ศาสนิกชนประพฤติปฏิบัติสืบต่อกันมาเป็นเวลายาวนานกว่า 2,500 ปี
 
 
การทอดกฐินเป็นประเพณีอันดีงามของชาวพุทธ
ที่ศาสนิกชนประพฤติปฏิบัติสืบต่อกันมาเป็นเวลายาวนานกว่า 2,500 ปี
 
ผ้าไตร 
 
กฐินเป็นกาลทานในปีหนึ่งแต่ละวัดสามารถรับกฐินได้เพียงครั้งเดียว
 
การได้ผ้ากฐินแบบมีเจ้าภาพ ถือเป็นคฤหบดีกฐินนั้น เมื่อมีผู้มาทอดผ้า ณ เบื้องหน้าคณะสงฆ์ โดยไม่ได้เจาะจงถวายแก่รูปใดรูปหนึ่ง คณะสงฆ์ต้องทำพิธีอปโลกน์กฐิน 
 
การได้ผ้ากฐินแบบมีเจ้าภาพ ถือเป็นคฤหบดีกฐินนั้น เมื่อมีผู้มาทอดผ้า ณ เบื้องหน้าคณะสงฆ์
โดยไม่ได้เจาะจงถวายแก่รูปใดรูปหนึ่ง คณะสงฆ์ต้องทำพิธีอปโลกน์กฐิน 
 
ขบวนอัญเชิญผ้ากฐิน 
 
กิจกรรมที่มาพร้อมกับประเพณี กฐินคือ “ขบวนอัญเชิญผ้ากฐิน” ซึ่งขึ้นกับแต่ละวัด
แต่ละท้องถิ่นจะบรรลุสิ่งสวยงาม ทรงคุณค่า คู่ควรกับความสำคัญของพิธีทอดกฐินซึ่งจัดพียงปีละครั้ง 
 
ขบวนอัญเชิญผ้ากฐิน 
 
ขบวนอัญเชิญผ้ากฐิน
 
ประธานกฐิน
 
ประธานกฐินปี พ.ศ.2554 (จากซ้าย) กัลฯรัตนา ตันกิม, กัลฯพวงเพ็ญ ทิสยากร, กัลฯผกามาศ อาจารีย์, กัลฯพิสมัย แสงหิรัญ
 
 
เครื่องประดับมหาลดาประสาธน์ 
 
ผู้ที่เป็นสตรีนั้นครั้นได้สั่งสมบุญทอดกฐิน ได้เคยถวายบาตรและจีวร มาเป็นอันมากแล้ว
เมื่อบุญเต็มส่วนก็จะได้เครื่องประดับมหาลดาประสาธน์ อันเป็นเครื่องประดับที่สูงค่า ไม่ได้เกิดแก่บุคคลทั่วไป  
 
ขบวนอัญเชิญผ้าไตรจีวร 
 
ขบวนอัญเชิญผ้ากฐิน ประจำปี พุทธศักราช 2554
 
ผู้แต่งกายเป็นมหาอุบาสิกาวิสาขา กฐินธรรมชัย พ.ศ.2554 นาตาลี เจอดี้ ฉิมบ้านไร่ 
 
ผู้แต่งกายเป็นมหาอุบาสิกาวิสาขา กฐินธรรมชัย พ.ศ.2554
 
ผู้แต่งกายเป็นมหาอุบาสิกาวิสาขา กฐินธรรมชัย พ.ศ.2554  
 
ผู้แต่งกายเป็น นางวิสาขา มหาอุบาสิกา ผู้ซึ่งเป็นยอดแห่งอุบาสิกาผู้เลิศกว่าสตรีนางใดในการสนับสนุนค้ำจุนพระพุทธศาสนา และพระภิกษุสงฆ์
 
นางวิสาขา มหาอุบาสิกา ผู้ซึ่งเป็นยอดแห่งอุบาสิกาผู้เลิศกว่าสตรีนางใดในการสนับสนุนค้ำจุนพระพุทธศาสนา และพระภิกษุสงฆ์  
 
 
ผู้แต่งกายเป็นมหาอุบาสิกาวิสาขา กฐินธรรมชัย พ.ศ.2554
นาตาลี เจอดี้ ฉิมบ้านไร่

 
ประธานกฐินปี พ.ศ.2554 (จากซ้าย) กัลฯรัตนา ตันกิม, กัลฯพวงเพ็ญ ทิสยากร, กัลฯผกามาศ อาจารีย์, กัลฯพิสมัย แสงหิรัญ 
 
ประธานกฐินทั้ง 4 ท่านเปรียบเสมือนสัญลักษณ์ของการสร้างทุกสิ่ง
เพราะทั้งสี่ท่านเป็นยอดนักสร้างบารมีตั้งแต่ยุคบุกเบิกสร้างวัดพระธรรมกาย 
 
พิธีกรานกฐิน 
 
ยอดนักสร้างบารมีตั้งแต่ยุคบุกเบิกสร้างวัดพระธรรมกายร่วมกันถวายผ้ากฐิน
 
ยอดนักสร้างบารมีตั้งแต่ยุคบุกเบิกสร้างวัดพระธรรมกาย
 
 
หลังจากถวายผ้ากฐินแล้ว คณะสงฆ์ต้องทำพิธีอปโลกน์กฐิน หมายถึงการที่พระภิกษุรูปใดรูปหนึ่งเสนอขึ้น
ในที่ประชุมสงฆ์ถามความเห็นชอบ ว่า ผ้ากฐินในปีนี้ควรถวายแก่ภิกษุรูปใด 
 
คณะสงฆ์ประกอบพิธีกรานกฐินที่อุโบสถวัดพระธรรมกาย 
 
พิธีกรานกฐิน เป็นสังฆกรรมที่คณะสงฆ์ จะทำพิธีกันในอุโบสถ
โดยพระภิกษุผู้ได้รับการเลือกสรรจากคณะสงฆ์ ว่าเป็นผู้มีสติปัญญาสามารถที่จะกรานกฐินได้
 
ขอกราบอนุโมทนาบุญกับผู้มีบุญทุกท่านที่ได้มีส่วนร่วมในบุญกฐินธรรมชัยมา ณ โอกาสนี้
 
[[videodmc==40780]]
[[videoprogram==merit_review]]
 
บทความที่เกี่ยวข้องกับประมวลภาพงานบุญกฐินธรรมชัย สร้างทุกสิ่ง
 
กฐินธรรมชัยพ.ศ. 2554 ณ วัดพระธรรมกาย
ผู้แต่งกายเป็นมหาอุบาสิกาวิสาขา กฐินธรรมชัย พ.ศ.2554
อานิสงส์กฐิน-บาตรและจีวรอันเป็นทิพย์ และเครื่องประดับมหาลดาประสาธน์

บทความนี้พิมพ์จาก http://www.dmc.tv/pages/ข่าวพระพุทธศาสนา/ประมวลภาพงานบุญกฐินธรรมชัย-สร้างทุกสิ่ง.html
เมื่อ 1 กรกฎาคม 2567 19:12
สงวนลิขสิทธิ์ © 2547 - 2567 http://www.dmc.tv