อานุภาพหลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ ตอน อุปัฏฐากพระต้นธาตุ โดยลุงหลอมและปู่ผง
หลวงปู่ให้แม่ชีถนอมนั่งเข้าที่ไปดูว่า ผู้ปฏิบัติดูแลพระต้นธาตุ เขาได้บุญกันยังไง ตายแล้วจะไปไหน แม่ชีถนอมตอบว่า “คนปฏิบัติดูแลหลวงพ่อต้องขึ้นสวรรค์เจ้าค่ะ อย่างน้อยก็ดาวดึงส์”
ปรโลกนิวส์ ของทีมชนะสกุลนิยม ตอนที่ 11
ตลอดระยะเวลาที่ตัวลูก ได้ทำหน้าที่อุปัฏฐากดูแลพระเถระ ตัวลูกก็ไม่ได้ละเลยเรื่องการปฏิบัติธรรมเลย แต่ด้วยความใจร้อน จึงทำให้ผลการปฏิบัติธรรมของตัวลูกไม่ก้าวหน้าเท่าที่ควรจะเป็น
เตรียมใจให้พ่อ รอวันไปสวรรค์ ตอนที่ 4
ทุกคนล้วนตกอยู่ภายใต้กฎแห่งกรรม เราจะต้องดำเนินชีวิตด้วยความไม่ประมาท ด้วยการปฏิบัติตามหลักคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ปรโลกนิวส์ คุณลุงฉลอม มีแก้วน้อย ละโลกแล้วไปไหน ตอนที่ 2
ทำไมลุงฉลอมถึงได้เก็บจีวรและเครื่องอัฐบริขารของพระเดชพระคุณหลวงปู่ทั้งหมด รวมทั้งเสาเรือนเกิดและหัวเรือค้าข้าว อีกทั้งยังได้ถวายที่ดินสร้างอนุสรณ์สถานเป็นคนแรกอีกด้วยคะ
พระอานนท์พุทธอนุชา
สหาย เป็นมิตรของคนผู้มีความต้องการเกิดขึ้นบ่อยๆ บุญทั้งหลายที่ตนทำไว้ดีแล้ว จะเป็นมิตรในสัมปรายภพ
ความเป็นมาและอานุภาพเส้นเกศาหลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ
ย้อนไปในปี พ.ศ.2535 ช่วงที่ผมประสานงานรวบรวมที่ดินในอำเภอสองพี่น้อง จ.สุพรรณบุรี ซึ่งเป็นบ้านเกิดหลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ ผมก็ได้แวะไปหา ปู่ผง มีแก้วน้อยซึ่งเป็น 1 ในทีมอุปัฏฐากที่เป็นลูกพี่ลูกน้องกับหลวงปู่ฯ ครับ
ยิ่งมองยิ่งงาม ตอนที่ 3
เรื่องราวของพระเดชพระคุณหลวงปู่ วัดปากน้ำภาษีเจริญ พระมงคลเทพมุนี สด จันทสโร ผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย จากคำบอกเล่าของหลานสาวท่าน...ท่านจะได้ทราบถึงอานุภาพอันไม่มีประมาณของวิชชาธรรมกาย ความศักดิ์สิทธิ์ของพระของขวัญ รุ่น 1 บารมีธรรมอันยิ่งใหญ่ของมหาปูชนียาจารย์ ของพวกเรา
กรณีศึกษา คุณโมนิค มูนอฟ ตอนที่ 16
สำหรับพระพี่เลี้ยงที่คอยดูแลคุณไอวี่ หรือกุลบุตรหนุ่มผู้มีจิตใจงดงามในภพชาตินั้น เป็นอย่างดีในช่วงที่คุณไอวี่กำลังบวชระยะสั้นอยู่นั้น ท่านก็ไม่ใช่ใครอื่นไกล เพราะท่านก็คือพระภิกษุหนุ่มรูปงามที่เป็นคนชี้หนทางสว่างให้กับคุณไอวี่ในภพชาตินั้น
สมุดไทย ใบลาน งานศาสน์งามศิลป์
เมื่อครั้งที่อุตสาหกรรมผลิตกระดาษยังไม่เจริญแพร่หลาย ผู้คนสมัยโบราณได้ใช้การเขียน บันทึกลงบนวัสดุต่าง ๆ เพื่อถ่ายทอดเรื่องราวสำคัญ ไม่ว่าจะเป็นจารึกบนแผ่นศิลา เปลือกไม้หรือภาชนะดินเผา แม้วัสดุดังกล่าวจะคงทนถาวร แต่ก็มีข้อจำกัดในเรื่องน้ำหนักของวัสดุ ขนาดเนื้อที่ และความยากในการจารจารึก...
เรียนรู้บริขาร
บรรพชา เดิมใช้หมายถึง การบวชเป็นนักบวชทั่วไป เช่น เจ้าชายสิทธัตถะเสด็จออกบรรพชา สาวกบรรพชา และเรียกนักบวชเช่นนั้นว่า "บรรพชิต" แต่ในสมัยปัจจุบัน คำนี้ใช้เรียกเฉพาะการบวชเป็นสามเณรเท่านั้น ส่วนการบวชเป็นพระภิกษุเรียกว่า "อุปสมบท"