อสัมปทานชาดก ชาดกว่าด้วยการไม่รับของทำให้เกิดการแตกร้าว
สังขเศรษฐีได้ช่วยเหลือสหายของตนนามว่าปิลิยเศรษฐี โดยแบ่งเงินของตนให้ ๔๐ โกฎิ แล้วยังแบ่งสมบัติทั้งหลายที่ตนมี ทั้งข้าทาสบริวารให้แก่ปิลิยเศรษฐีครึ่งหนึ่งในครั้งที่เพื่อนของตนเดือดร้อน แต่ในยามที่สังขเศรษฐีลำบาก ปิลิยเศรษฐีกลับเมินเฉยไม่ยอมช่วยเหลือใดๆ
สัจจังกิรชาดก ชาดกว่าด้วยไม้ลอยน้ำดีกว่าคนอกตัญญู
พระฤาษีได้ช่วยเหลือทุฏฐกุมารผู้มีใจโหดร้ายให้รอดพ้นจากกระแสน้ำที่ไหลหลาก แต่ทุฏฐกุมารกลับโกรธแค้นที่ฤาษีดูแลและให้ความสำคัญกับชีวิตสัตว์มากกว่าตน เลยผูกใจเจ็บและได้สั่งตัดหัวพระฤาษีทันทีเมื่อได้โอกาส
อานิสงส์สร้างมณฑปเป็นพุทธบูชา
พระศาสดาได้เสด็จไปที่มณฑปนั้น ประทับนั่งบนอาสนะที่ปูลาดไว้ดีแล้ว กุลธิดาได้ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้า อังคาสด้วยของเคี้ยวของบริโภคอย่างประณีต พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุโมทนาแก่เธอ
อานิสงส์ของการฟังธรรม
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อานิสงส์ในการฟังธรรม 5 ประการนี้ 5 ประการเป็นไฉน ?
กัจฉปชาดก ชาดกว่าด้วยลิงสัปดน
เป็นเรื่องของลิงทุศีลซุกซนตัวหนึ่ง ที่ชอบกลั่นแกล้งผู้อื่น วันหนึ่งมันได้แกล้งเจ้าเต่า โดยได้สอดองคชาตเข้าในปากของเต่าซึ่งหลับอยู่ ลำดับนั้น เต่าตื่นขึ้นจึงงับองคชาตของลิงนั้นไว้ เหมือนกับใส่ไว้ในสมุคฉะนั้น เวทนาอย่างแรงเกิดขึ้นแก่ลิงนั้น มันไม่สามารถจะอดกลั้นเวทนาได้
ฆตบัณฑิตชาดก ชาดกว่าด้วยความดับความโศก
ณ บ้านหลังหนึ่งในเชตวัน สาวัตถี กุฎุมพีเจ้าของบ้านได้เกิดความเศร้าโศกเสียใจ เป็นอันมากเนื่องจากบุตรชายอันเป็นที่รักของเขาได้ตายจากไป ความเศร้าเสียใจของชายผู้นี้กินเวลาเนิ่นนาน วันเดือนปีจะผ่านพ้นไปเพียงใด เขาก็ยังไม่สามารถทำใจได้
เกฬิสีลชาดก ชาดกว่าด้วยปัญญาสำคัญกว่าร่างกาย
พระเจ้าพรหมทัตทรงครองราชสมบัติอยู่ ณ กรุงพาราณสี พระองค์ทรงชอบการกลั่นแกล้งทรมานคนแก่ชราและสัตว์ที่แก่ไร้เรี่ยวแรง นำมากลั่นแกล้งในรูปแบบต่าง ๆ จนท้าวสักกะทนไม่ไหวจำต้องเสด็จลงมาใช้อุบายทำการสั่งสอนให้พระองค์ได้ทรงสำนึกในการกระทำที่ไม่สมควร
ธุดงคสถานพิษณุโลก จัดพิธีตัดปอยผมโครงการอุปสมบทหมู่ภาคฤดูร้อน
ธุดงคสถานพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก ได้จัดพิธีตัดปอยผมในโครงการอุปสมบทหมู่ธรรมทายาทภาคฤดูร้อน ประจำปีพุทธศักราช 2567
มโนชชาดก-ชาดกว่าด้วยคบคนชั่วไม่ได้ความสุขที่ยั่งยืน
สมัยนั้นมีสหายสองคนผู้เป็นชาวเมืองราชคฤห์ ในสองสหายนั้น คนหนึ่งบวชในสำนักของพระศาสดาอีกคนหนึ่งบวชในสำนักของพระเทวทัต สหายทั้งสองนั้นย่อมได้พบเห็นกันและกันอยู่เสมอ แม้ไปวิหารก็ยังได้พบเห็นกัน ภิกษุที่ออกบวชในสำนักพระศาสดาต้องปฏิบัติกิจสงฆ์ออกบิณฑบาต ปฏิบัติธรรมอยู่เป็นนิจ ส่วนภิกษุที่บวชในสำนักของพระเทวทัตนั้นไม่ต้องออกไปบิณฑบาต เพราะจะมีคนจัดสำรับไว้ให้ในโรงฉันเรียบร้อย
กัลยาณธรรมชาดก ชาดกว่าด้วยผู้มีกัลยาณธรรม
" เราไม่ได้ออกบวช แต่คนอื่นทั้งหมดกลับคิดว่าเราบวช นี่คงเป็นเสียงดีสินะ เราจะไม่ทำให้เสียงดีนี้หายไป เราจะออกบวช ” เศรษฐีจึงกลับไปเข้าเฝ้าพระราชาอีกครั้ง พระราชาเมื่อเห็นเศรษฐีเดินมาเข้าเฝ้าอีกก็แปลกใจจึงตรัสถามว่า “ ท่านมหาเศรษฐี ท่านเพิ่งไปเดี๋ยวนี้เอง ทำไมจึงกลับมาอีกเล่า ” “ ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นจอมแห่งชน กาลใดบุคคลได้สมัญญาในโลกว่า ผู้มีกัลยาณธรรม กาลนั้นนรชนผู้มีปัญญาไม่พึงทำตนให้เสื่อมสมัญญานั้นเสีย "