โกสิยชาดก ชาดกว่าด้วยถ้อยคำกับการกินไม่สมกัน
นางโกสิยพราหมณี ซึ่งเป็นหญิงที่มีนิสัยหยาบช้า ลามก มักมากในกาม นางนั้นหลุ่มหลงอยู่ในกามราคะ ประพฤติผิดประเวณี คบชู้สู่ชายและมักใช้เล่ห์กลมารยาแกล้งป่วย ไม่ทำการงาน ให้พราหมณ์หนุ่มผู้เป็นสามีบำรุงบำเรอด้วยอาหารที่ดีและปราณีตอยู่เป็นประจำ
สุวรรณกักกฏชาดก ชาดกว่าด้วยปูทองผู้ฉลาด
พระศาสดาเมื่อประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน ทรงปรารภการ เสียสละชีพของพระอานนทเถระเพื่อพระองค์ ดังนี้แล้วพระองค์จึงทรงนำเรื่องในอดีตมาสาทกดังต่อไปนี้...กาลครั้งหนึ่งนานพระโพธิ์สัตว์เกิดเป็นพราหมณ์ในหมู่บ้านแห่งหนึ่ง มีอาชีพกสิกรรม
วิธีแบ่งแยกบุคคล
บุคคลไม่ได้เป็นคนเลวเพราะชาติ ไม่ได้เป็นผู้ประเสริฐเพราะชาติกำเนิด แต่เป็นคนเลวทรามเพราะกรรม เป็นผู้ประเสริฐก็เพราะกรรมเท่านั้น
คนเมืองสิงค์และมาเลย์ เฮโลมา สร้างพระปิดเจดีย์
เมื่อสมรภูมิยังต้องการขุนรบแนวหน้า พร้อมพลเสนากรำศึก หนุ่ม-สาวเมืองสิงค์(สิงคโปร์) และเมืองมาเลย์เซีย ขอนำขบวนบินมาอยู่แถวหน้า ไม่แพ้ชาติใดในโลกเช่นกัน ขอตามติดติดตามหลวงพ่อสร้างบารมีไปจนถึงที่สุดแห่งธรรม
ประมุกของผู้หวังบุญ
ยัญทั้งหลายมีการบูชาไฟเป็นประมุขคัมภีร์สาวิตศาสตร์ เป็นประมุขแห่งคัมภีร์ฉันทฺ์พระราชาเป็นประมุขของมนุษย์ทั้งหลายสาครเป็นประมุขของแม่น้ำทั้งหลาย
เวสสันดรชาดก ตอนที่ ๔ ( พระราชทานช้างมงคล )
เมื่อพราหมณ์ขอช้างได้แล้ว ก็พากันแห่ไปในใจกลางเมือง ครั้นมหาชนเห็นช้างมงคล ต่างถามว่า ท่านได้ช้างนี้มาจากไหน ทันทีที่รู้ว่าได้รับบริจาคมาจากพระเวสสันดร ต่างพากันวิพากษ์วิจารณ์ และโกรธพระโพธิสัตว์มาก ได้รวมตัวกันตั้งแต่คนที่มีชื่อเสียง พระราชบุตรจากทุกตระกูล พ่อค้า ชาวนา พราหมณ์ พากันมาชุมนุมร้องเรียนพระเจ้าสัญชัยว่า
อานิสงส์ถวายรองเท้า
เราได้ถวายรองเท้าแด่พระพุทธเจ้า พระนามว่ากกุสันธะ ผู้เป็นปราชญ์ มีบาปอันลอยแล้ว อยู่จบพรหมจรรย์ ด้วยผลแห่งทานนั้น เราไม่เคยรู้จักทุคติเลย
ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 149
พระเจ้าวิเทหราชทรงสดับคำตอบของอาจารย์เสนกะ ก็ทรงดีพระทัยยิ่งนัก ท้าวเธอจึงลองตรัสถามอาจารย์ที่เหลือตามลำดับ ครั้นแล้วก็ทรงได้รับคำตอบในทำนองเดียวกันทั้งสิ้น ไม่มีผู้ใดกราบทูลทัดทานเลย เมื่อเป็นดังนี้ ท้าวเธอก็ทรงคลายความระแวงพระทัย และทรงปักพระทัยมั่นที่จะเสด็จไปปัญจาลนครตามคำทูลเชิญของพระเจ้าจุลนี
เวทัพพชาดก-ชาดกว่าด้วยโทษของการไม่รู้จักกาลเทศะ
พุทธกาลครั้งหนึ่งยังมีภิกษุชาวสาวัตถีรูปหนึ่ง มีความอวดดื้อถือดีจนเป็นที่เอือมระอาต่อภิกษุรูปอื่นๆ เมื่อพระพุทธองค์ทรงทราบท่านจึงทรงระลึกชาติด้วยบุพเพนิวาสานุสติญาณแล้วพบว่า ภิกษุรูปนี้เมื่อกาลก่อนก็เป็นผู้ว่ายากจนเป็นเหตุให้ตนเองและบุคคลเป็นพันๆ คน ต้องถึงแก่ความตาย
อนภิรติชาดก ชาดกว่าด้วยจิตขุ่นมัว ไม่ขุ่นมัว
ความสำเร็จในมรรคผล การบรรลุญาณสมาบัติของผู้ปฏิบัติกรรมฐานนั้น เกี่ยวข้องด้วยความสมถะสันโดษหลุดพ้นจากกิเลสอันอยากได้อยากมีเป็นอย่างยิ่ง ผู้ปฏิบัติภาวนา แม้สำเร็จญาณระดับใดแล้วก็ตาม แต่หากรับเอาอาสวะกิเลสเข้าจิตใจ แม้น้อยนิด ญาณวิเศษที่พากเพียรมา ก็จักเสื่อมลงถดถอยลงสิ้น