ศีลดี คือ อะไร ?
ศีลมีประมาณเท่าใด ศีลที่พระอริยเจ้าใคร่แล้ว คือ ศีลที่ไม่ขาด ไม่ทะลุ ไม่ด่าง ไม่พร้อย เป็นไท
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - ผู้เป็นแสงสว่างของโลก
"น่าอัศจรรย์จริงหนอ ฆฏิการะผู้เป็นเพียงช่างปั้นหม้อ กล้ามาดึงมวยผมเราผู้เป็นเผ่าพันธุ์ของพระพรหม ตามปกติเพื่อนของเราไม่เคยทำอย่างนี้ มีแต่ความปรารถนาดีต่อเรามาตลอด ไม่เคยชักชวนไปในทางที่ผิดเลย การไปพบ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า คงจะเป็นการดีเป็นแน่"
อริยมรรค หนทางสู่ความหลุดพ้น
ท่านทั้งหลายจงดำเนินตามทางที่สร่างความมัวเมา บรรเทาความเศร้าโศก เปลื้องตนให้หลุดพ้นจากสงสาร ซึ่งเป็นที่สิ้นสุดแห่งทุกข์ทั้งปวง โดยความเคารพเถิด
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร (๒)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ทางสุดโต่งสองอย่างบรรพชิตไม่ควรเสพ คือ การทรมานตัวเองให้ลำบากและการประกอบพัวพันในกาม
มัชฌิมาปฏิปทา เส้นทางสู่ความหลุดพ้น
ดูก่อนท่านผู้มีอายุทั้งหลาย มัชฌิมาปฏิปทาที่เป็นธรรมทำให้มีดวงตา ทำให้เกิดญาณ ย่อมเป็นไปเพื่อความสงบระงับ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อตรัสรู้ เพื่อพระนิพพาน คือ อริยมรรคมีองค์ ๘ ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ การเจรจาชอบ การงานชอบ การเลี้ยงชีพชอบ ความพยายามชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจชอบ
การปลุกยักษ์ในตัวคุณ-ทันโลกทันธรรม
ปลุกยักษ์ในตัวคนคือการปลุกศักยภาพในตัวมนุษย์ทุกคนซึ่งแต่ละคนมีอยู่อย่างมหาศาลเพื่อนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน 1.ภาษากาย ปรับปรุงบุคลิกภาพ
ความสำคัญของวันอาสาฬหบูชา
‘วันอาสาฬหบูชา’ เป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เป็นวันที่พระพุทธเจ้าได้ทรงประกาศพระพุทธศาสนาเป็นครั้งแรก ตรงกับวันเพ็ญขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๘
The Middle Way Meditation Coach Training Program
สันติภาพเป็นสิ่งที่ทุกๆคนปรารถนา ทุกๆสังคม และชุมชนล้วนแสวงหาสันติภาพ องค์กรสันติภาพโลกได้ก่อตั้งรางวัลสันติภาพโลกขึ้น และได้คัดเลือกองค์กร และบุคคลที่เหมาะสมที่สุดเพื่อรางวัลนี้มาแล้วนับร้อยปี
สามเณรนิโครธ ผู้จุดให้พระเจ้าอโศกมหาราชหันมานับถือและทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา
ประมาณ ๓๐๐ ปีหลังพุทธปรินิพพาน มีสามเณรน้อยรูปหนึ่งนามว่า สามเณรนิโครธ อายุเพียง ๗ ขวบ ได้ออกบวชและบรรลุธรรมเป็นพระอรหันต์สามเณรน้อยมีผิวพรรณผ่องใสและเป็นผู้ที่ฝึกตนเป็นอย่างดีจึงมีบุคลิกที่สงบเสงี่ยมสง่างามน่าเลื่อมใสยิ่งนัก ทำให้พระราชาคือ พระเจ้าอโศกมหาราชเกิดความเลื่อมใสศรัทธาในทันทีที่เห็นสามเณรเดินผ่าน
นั่งสมาธิแล้วเจอเสียงรบกวนต่างๆ ควรทำอย่างไรดี
เราเองก็จงระมัดระวัง ไม่ไปรบกวนคนอื่นเขา ถ้าเราเคยรบกวนเขามาเหมือนกัน ก็จงพิจารณาทำตัวเป็น “เสือสำนึกบาป” ว่าเราคงเคยรบกวนคนอื่นเขามาเหมือนกัน