วันอาสาฬหบูชา 2567 ประวัติความเป็นมาความสำคัญและธรรมเนียมปฏิบัติ
วันอาสาฬหบูชา 2567 ตรงกับวันเสาร์ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ.2567 วันอาสาฬหบูชาเป็นวันสำคัญวันหนึ่งของพระพุทธศาสนา ตรงกับวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 ในสมัยพุทธกาลมีเหตุการณ์สำคัญเกิดขึ้น 4 ประการ
พระพุทธรูปปางต่างๆ
พระพุทธรูปปางต่างๆ พระพุทธรูปปางอธิษฐานเพศบรรพชิต พระพุทธรูปปางรับมธุปายาส พระพุทธรูปปางรับหญ้าคา พระพุทธรูปปางมารวิชัย พระพุทธรูปปางสมาธิหรือปางตรัสรู้ ความเป็นมาของปางต่างๆ
ยมโลก และเทวโลก
ยมโลก คือ ดินแดนหนึ่งซึ่งตามศาสนาพุทธเชื่อกันว่าผู้ทำบาปจะต้องไปเกิดและถูกลงโทษตามคำพิพากษาของมัจจุราช มีชื่อเรียกหลายชื่อ เช่น นิรยะ ยมโลก มฤตยูโลก ฯลฯ เทวโลก คือ โลกของเทวดา หมายถึงสวรรค์อันเป็นที่อยู่ของเทวดา
พระบรมธาตุ
พระบรมธาตุ บทบาทและความสำคัญของพระบรมธาตุ ตำนานพระบรมธาตุ เรื่องพระบรมธาตุ เมื่อสิ้นศาสนา พระธาตุของพระพุทธเจ้าทั้งหมดจะเสด็จไปรวมกันที่พระมหาเจดีย์เมืองอนุราธปุระในลังกา แล้วจึงเสด็จไปรวมกันขึ้นเป็นองค์ที่โพธิบัลลังก์ในอินเดีย แสดงธรรมแก่เทวดาทั้งหลายเป็นครั้งสุดท้าย อันตรธาน
มงคลที่ ๑๖ ประพฤติธรรม - ตั้งเป้าหมายชีวิตเพื่อพิชิตพระนิพพาน
พระพุทธองค์ทรงชี้ทางรั่วไหลออกของทรัพย์ว่า โภคทรัพย์ที่เกิดโดยชอบนี้ มีทางเสื่อม ๔ ประการ คือ เที่ยวผู้หญิง ดื่มสุรา เล่นการพนันและคบมิตรชั่ว เหมือนสระ น้ำใหญ่ มีทางไหลเข้า ๔ ทาง ทางไหลออก ๔ ทาง จึงจำเป็นต้องเปิดทางไหลเข้า ปิดทางไหลออกของสระ ด้วยการไม่ไปยุ่งเกี่ยวกับอบายมุขทุกชนิด
ท่องสวรรค์ ตอน ชีวิตความเป็นอยู่ของเทวดา
ชีวิตความเป็นอยู่ของเทวดา ได้ฟังคุณครูไม่ใหญ่เล่าธรรมะในรายการ ธรรมะเพื่อประชาชน ถ่ายทอดทางสถานีวิทยุ AM 1521 ตอน ท่องสวรรค์ เอาไว้ว่า...
พระพากุลเถระ ตอน สร้างมหากุศลใหญ่ในสมัยพระปทุมุตตรพุทธเจ้า
ในยุคของพระปทุมุตตรพุทธเจ้า พระพากุลเถระได้เกิดเป็นบุตรเศรษฐี ในพระนครหงสาวดี อยู่มาวันหนึ่งบุตรเศรษฐีได้เดินทางเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าเพื่อฟังพระธรรมเทศนา โดยยืนฟังอยู่ด้านท้ายของเหล่าพุทธบริษัททั้งหลาย
อานิสงส์ถวายผ้าเนื้อดี
พระพุทธเจ้า ผู้เป็นนายก พระนามว่า ปทุมุตตระ ทรงพยากรณ์เราว่า ด้วยการถวายผ้านี้ ท่านจักได้เป็นผู้มีผิวพรรณดั่งทองคำ
ความตายไม่ได้น่ากลัวอย่างที่คิด ตอนที่ 3
ชีวิตของเราไม่แน่นอน และเราก็ยังไม่รู้ว่าตัวเราเองจะตายในวันไหน เพราะฉะนั้น ให้ตั้งใจสั่งสมบุญสร้างบารมีให้เต็มที่เต็มกำลัง
เนมิราชชาดก บำเพ็ญอธิษฐานบารมี (๕)
รสแห่งธรรมเลิศกว่ารสทั้งปวง ความสุขที่เกิดจากการเข้าถึงธรรมอันบริสุทธิ์ภายใน ประเสริฐกว่าความสุขอื่น...