พบร่องรอยโลมามีขา เชื่อสัตว์ทะเลแสนรู้เคยอยู่บนบกมาก่อน

https://dmc.tv/a751

บทความธรรมะ Dhamma Articles > DMC NEWS
[ 8 พ.ย. 2549 ] - [ ผู้อ่าน : 18274 ]

นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าโลมาน่าจะเคยอยู่บนบกมาก่อน จากฟอสซิลพอจะคาดเดาได้ว่ามีบรรพบุรุษร่วมกับกวางและฮิปโป

คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น
โลมาปากขวดที่ชาวประมงญี่ปุ่นจับได้ มีครีบเกินออกมาจากปกติ 2 คู่ ซึ่งชื่อว่าเป็นร่องรอยของ "ขา" ที่เคยเก็บไว้หลังวิวัฒนาการลงสู่น้ำ


เอพี – ชาวประมงญี่ปุ่นจับโลมาปากขวด 4 ครีบได้ ซึ่งนักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าครีบคู่ที่สอง น่าจะเป็นร่องรอยของขาที่โลมาซ่อนไว้ตั้งแต่กำเนิด อีกทั้งยังมีฟอสซิลที่แสดงให้เห็นว่าสัตว์ทะเลชนิดนี้น่าจะเคยอาศัยอยู่บนพื้นดินมาก่อน
       
       ชาวประมงจับโลมาปากขวด 4 ครีบที่ยังมีชีวิตอยู่ได้ที่ชายฝั่งของอำเภอวากายามา
(Wakayama) ทางตะวันตกของประเทศญี่ปุ่นได้เมื่อปลายเดือนที่ผ่านมา และได้แจ้งไปยัง
พิพิธภัณฑ์ปลาวาฬไทจิ (Taiji Whaling Museum)
       
       ทั้งนี้ ซากฟอสซิลของปลาวาฬและโลมาแสดงให้เห็นว่า  ในเมื่อ 50 ล้านปีก่อน
สัตว์ทั้ง 2 ชนิดมี 4 ขาและเป็นสัตว์บกมาก่อน อีกทั้งมีบรรพบุรุษร่วมกับฮิปโปและกวาง ซึ่งนักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าสัตว์บกทั้ง 2 ชนิดนี้เกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นสัตว์น้ำ และขาค่อยๆ หดหายไป
       
       นอกจากนี้ ปลาวาฬและโลมาที่อยู่ในท้องแม่ก็มีร่องรอยของอวัยวะบางอย่างที่ยื่นออกมา แต่ส่วนใหญ่เมื่อคลอดออกมาแล้ว ร่องรอยดังกล่าวก็ถูกซ่อนหายไป
       
       ลักษณะที่ยื่นออกมานั้นเคยพบใกล้บริเวณหางของทั้งโลมาและวาฬที่เคยจับได้ในอดีต
แต่โลมา 4 ครีบที่ชาวประมงญี่ปุ่นจับได้ครั้งนี้ นักวิจัยชื้ว่าเป็นครั้งแรกที่พบการพัฒนาของครีบที่สมบูรณ์
       
       “เชื่อว่าครีบเหล่านี้น่าจะเป็นร่องรอยจากบรรพบุรุษของโลมาตั้งแต่สมัยยังอาศัยอยู่บนบก นับเป็นการค้นพบที่ไม่คาดคิดมาก่อน” ไซอิจิ โอซูมิ (Seiji Osumi) ที่ปรึกษาสถาบันวิจัยสัตว์น้ำ
ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแห่งโตเกียว (Tokyo's Institute of Cetacean Research) เปิดเผย        
       ครีบคู่ที่สองของโลมาที่จับได้นั้นมีขนาดประมาณฝ่ามือคน แต่เล็กกว่าครีบคู่หน้า
อยู่บริเวณใต้หาง โลมาวัย 5 ขวบตัวนี้มีความยาว 8.92 ฟุต ซึ่งทางเจ้าหน้าที่ของพิพิธภัณฑ์ยังไม่สามารถสรุปได้ว่าโลมาใช้ครีบคู่หลัง
ช่วยบังคับทิศทางในการว่ายน้ำหรือไม่
       

       อย่างไรก็ดีการผ่าเหล่าผิดธรรมชาติอาจเป็นเหตุให้สัตว์สมัยดึกดำบรรพ์ปรับพัฒนาการตัวเอง มาเป็นอย่างที่เห็นในปัจจุบัน ซึ่งโลมาปากขวด 4 ครีบตัวนี้ทางพิพิธภัณฑ์จะเลี้ยงไว้เพื่อเอ็กซเรย์และทดสอบทางพันธุกรรมต่อไป
 
 
 
 
ที่มา- 
 

http://goo.gl/PXXD1


พิมพ์บทความนี้



บทความอื่นๆ ในหมวด

      ผู้แทนวัดพระธรรมกาย อำนวยพรปีใหม่ พ.ศ.2567 สื่อมวลชน
      กรณีปล่อยข่าวเท็จใน Social Network
      วัดพระธรรมกายแฟรงก์เฟิร์ต จัดปฏิบัติธรรม เมืองลิมบวก
      วัดพระธรรมกายดีซี จัดพิธีส่งมอบดวงแก้วสำเร็จ
      วัดพระธรรมกายอิบาราขิ จัดงานบุญวันอาทิตย์
      กองบริหารงานผู้นำรถ จัดอบรมผู้นำรถ
      วัดพระธรรมกายบอสตัน จัดประชุมเตรียมงานวิสาขบูชา
      ร.ร.เตรียมพุทธศาสตร์ จัดพิธีทอดผ้าป่า
      วัดพระธรรมกายฮ่องกง จัดพิธีทอดผ้าป่า
      คณะครูโรงเรียนธีระวัฒน์บำเพ็ญ อบรมธรรมะ
      วัดพระธรรมกายปารีส จัดปฏิบัติธรรม เมืองอ๊อกลี่
      ยพสล. เชิญชวนร่วมบวชแสนเข้าพรรษา
      สธ.ระบุกฏหมายคุมยาสูบใหม่ช่วยลดจำนวนนักสูบ




   ค้นหา บทความธรรม    

  ฝันในฝันวิทยา
  สารพันธรรมะ
  ปกิณกธรรม
  ผลการปฏิบัติธรรม
  โครงการฟื้นฟูศีลธรรมโลก
  ธรรมะบันเทิง
  ข่าว
  ข่าวประชาสัมพันธ์
  ข่าวบุญฝากประกาศ
  DMC NEWS
  ข่าวรอบโลก
  กิจกรรมเว็บ dmc.tv
  Scoop - Review DMC
  เรื่องเด่นทันเหตุการณ์
  Review รายการ DMC
  หนังสือธรรมะ
  ธรรมะเพื่อประชาชน
  ที่นี่มีคำตอบ
  หลวงพ่อตอบปัญหา
  อยู่ในบุญ
  สุขภาพนักสร้างบารมี
  นิทานชาดก
  CaseStudy กฎแห่งกรรม
  กฎแห่งกรรม
  เรื่องราวชีวิต
  เหลือเชื่อแต่จริง
  อุทาหรณ์สอนใจ
  ฮอตฮิต...ติดดาว
  วิบากกรรม...ทำให้ทุกข์
  บุญเกื้อหนุน
  ปรโลกนิวส์
  ธรรมะและสมาธิ
  พุทธประวัติ
  สมาธิ
  ผลการปฏิบัติธรรมนานาชาติ
  ทศชาติชาดก
  พุทธประวัติและวันสำคัญ
  บทสวดมนต์
  ศัพท์ธรรมะ ภาษาอังกฤษ
  มหาปูชนียาจารย์
  อานุภาพมหาปูชนียาจารย์
  ประวัติ
  กิจกรรม
  ธุดงค์สถาปนาเส้นทางมหาปูชนียาจารย์
  About DMC
  เกี่ยวกับ DMC
  DMC GUIDE
  มือถือ Mobile
  คู่มือเว็บ www.dmc.tv
  มาวัดพระธรรมกาย
   ค้นหา บทความธรรม    

ธรรมะที่เกี่ยวข้อง - Related