ทำไมต้องกราบพระ

เรากราบเพื่อน้อมสักการะบูชาบุคคลผู้ควรแก่การสักการะบูชา มีพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระอริยสงฆ์สาวก มารดาบิดาครูอาจารย์ เป็นต้น เป็นความประพฤติที่ดีงาม ที่มาจากจิตใจที่ดีงาม เป็นไปเพื่อความเจริญขึ้นของกุศลธรรม ขัดเกลากิเลสในชีวิตประจำวัน https://dmc.tv/a20104

บทความธรรมะ Dhamma Articles > คู่มือเตรียมบวชสามเณร
[ 27 พ.ค. 2558 ] - [ ผู้อ่าน : 18282 ]

ทำไมต้องกราบพระ

 
ทำไมต้องกราบพระ
 

    เรากราบเพื่อน้อมสักการะบูชาบุคคลผู้ควรแก่การสักการะบูชา มีพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระอริยสงฆ์สาวก มารดาบิดาครูอาจารย์ เป็นต้น เป็นความประพฤติที่ดีงาม ที่มาจากจิตใจที่ดีงาม เป็นไปเพื่อความเจริญขึ้นของกุศลธรรม ขัดเกลากิเลสในชีวิตประจำวัน

การกราบพระรัตนตรัยทำไมต้องกราบ ๓ ครั้ง
 
การกราบพระรัตนตรัยเป็นการกราบเพื่อระลึกถึงคุณของพระรัตนตรัย กล่าวคือ
กราบครั้งที่ ๑ ระลึกถึง พระพุทธ
กราบครั้งที่ ๒ ระลึกถึง พระธรรม
กราบครั้งที่ ๓ ระลึกถึง พระสงฆ์

     นิยมกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์ คือ การกราบโดยให้อวัยวะ ๕ ส่วนจดลงให้ติดพื้น คือ เข่าทั้งสอง ฝ่ามือทั้งสอง และหน้าผาก และกราบ ๓ ครั้ง

กราบแบบเบญจางคประดิษฐ์
     การกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์ ถือเป็นการน้อมกายน้อมใจลงสู่อาการเคารพสูดสุด เพราะเราได้นำเอาส่วนที่สูงที่สุดคือหน้าผากมาแตะกับพื้น ซึ่งก็หมายความว่า การกราบแต่ละครั้ง ถ้าเราทำด้วยใจจริงแล้ว ใจเราจะไม่มีมานะ ไม่มีความถือตัวถือตน เมื่อกราบนั้น ควรกล่าวคำนมัสการให้จบเสียก่อน จึงค่อยน้อมตัวลงกราบ อย่าน้อมตัวลงกราบในขณะที่กล่าวคำนมัสการยังไม่จบ มิฉะนั้นคำนมัสการจะขาดหายไป และเป็นการกราบที่ไม่พร้อมเพรียงกัน

    จังหวะที่ ๑  "อัญชลี"  นั่งคุกเข่า ยกมือขึ้นประนมระหว่างอก
    จังหวะที่ ๒  "วันทา"   ศีรษะตั้งตรง ยกมือประมนขึ้นจรดหน้าผาก หัวแม่มือทั้งสองอยู่ระหว่างคิ้ว
    จังหวะที่ ๓  "อภิวาท" หมอบกราบลงให้หน้าผากจรดพื้นข้อศอกต่อกับหัวเข่า วางฝ่ามือแบราบห่างกันหนึ่งฝ่ามือ ก้มศีรษะลงให้หน้าผากจรดพื้นในระหว่างฝ่ามือทั้งสอง
 
 
บทความที่เกี่ยวข้องกับคู่มือนักเรียนเตรียมบวชสามเณร
 

http://goo.gl/kwH9PO


พิมพ์บทความนี้



บทความอื่นๆ ในหมวด

      เตรียมพร้อมความสะอาด ความเป็นระเบียบ
      เรียนรู้บริขาร
      บุญ เบื้องหลังความสุขและความสำเร็จ
      ชาดกเกี่ยวกับอานิสงส์ของการรักษาศีล
      ศีล คุ้มครองตนจากบาปและอกุศล
      พระสัมมาสัมพุทธเจ้า บรมครูของมนุษย์และเทวดา
      การสนทนาระหว่างฆราวาสกับพระภิกษุ/สามเณร
      พระภิกษุ ทายาทของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
      บวชแล้ว "สังคมและประเทศชาติ" และ "พระพุทธศาสนา" ได้อะไร
      บวชแล้ว "พ่อแม่ผู้ปกครอง" และ "ครู" ได้อะไร
      บวชแล้ว "ผู้บวช" ได้อะไร
      วิธีตอบแทนคุณพ่อคุณแม่ที่ดีที่สุด คือ อะไร




   ค้นหา บทความธรรม    

  ฝันในฝันวิทยา
  สารพันธรรมะ
  ปกิณกธรรม
  ผลการปฏิบัติธรรม
  โครงการฟื้นฟูศีลธรรมโลก
  ธรรมะบันเทิง
  ข่าว
  ข่าวประชาสัมพันธ์
  ข่าวบุญฝากประกาศ
  DMC NEWS
  ข่าวรอบโลก
  กิจกรรมเว็บ dmc.tv
  Scoop - Review DMC
  เรื่องเด่นทันเหตุการณ์
  Review รายการ DMC
  หนังสือธรรมะ
  ธรรมะเพื่อประชาชน
  ที่นี่มีคำตอบ
  หลวงพ่อตอบปัญหา
  อยู่ในบุญ
  สุขภาพนักสร้างบารมี
  นิทานชาดก
  CaseStudy กฎแห่งกรรม
  กฎแห่งกรรม
  เรื่องราวชีวิต
  เหลือเชื่อแต่จริง
  อุทาหรณ์สอนใจ
  ฮอตฮิต...ติดดาว
  วิบากกรรม...ทำให้ทุกข์
  บุญเกื้อหนุน
  ปรโลกนิวส์
  ธรรมะและสมาธิ
  พุทธประวัติ
  สมาธิ
  ผลการปฏิบัติธรรมนานาชาติ
  ทศชาติชาดก
  พุทธประวัติและวันสำคัญ
  บทสวดมนต์
  ศัพท์ธรรมะ ภาษาอังกฤษ
  มหาปูชนียาจารย์
  อานุภาพมหาปูชนียาจารย์
  ประวัติ
  กิจกรรม
  ธุดงค์สถาปนาเส้นทางมหาปูชนียาจารย์
  About DMC
  เกี่ยวกับ DMC
  DMC GUIDE
  มือถือ Mobile
  คู่มือเว็บ www.dmc.tv
  มาวัดพระธรรมกาย
   ค้นหา บทความธรรม    

ธรรมะที่เกี่ยวข้อง - Related